Page 28 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 28

12-16 การบรหิ ารงานภาพยนตร์
       ส่วนที่ 2 ทีมงานหลัก (key personnel/ key creative team)
            รายชอ่ื หลกั 3 ชือ่ ทผ่ี ู้ขอทุนควรจะตอ้ งระบุลงไปในแพก็ เกจ ดังน้ี
                 1)		ผอู้ �ำนวยการสร้าง (producer)
                 2) 	ผกู้ �ำกับภาพยนตร์ (director)
                 3) 	บริษทั สร้างภาพยนตร์ (production house)
       นอกเหนอื ไปจากบทภาพยนตรท์ แี่ ปลกใหมแ่ ละนา่ ดงึ ดดู ใจแลว้ นนั้ สง่ิ ทผ่ี ใู้ หก้ ารสนบั สนนุ เงินทนุ

ตอ้ งการจะเหน็ เปน็ อยา่ งแรกๆ เลยกค็ อื รายชอื่ ของทมี งานทม่ี ปี ระสบการณใ์ นการทำ� ภาพยนตร์ หรอื ภาษา
ปากเรยี กกันว่า คนมีโปรไฟล์ (profile) โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ใน 2 ต�ำแหนง่ หลกั น่ันก็คอื โปรดิวเซอร์ และ
ผู้ก�ำกับ ในรายของผู้สร้างหรือผู้ขอทุนท่ีไม่เคยมีประสบการณ์หรือเคยสร้างชื่อจากการท�ำภาพยนตร์มา
ก่อนการขอทุนอาจจะท�ำได้ยาก เพราะผู้ให้ทุนอาจจะไม่ม่ันใจในฝีไม้ลายมือของผู้ก�ำกับ หรือไม่แน่ใจว่า
โปรดิวเซอร์จะสามารถผลักดันให้ภาพยนตร์ได้สร้างและสร้างจนเสร็จจริง แต่ในบางแหล่งทุนก็ในการ
สนบั สนนุ ผู้สร้างหน้าใหมท่ ่ไี ม่เคยมปี ระสบการณ์มากก่อน อย่างเช่น ทุน Asian Cinema Fund เปน็ ตน้

       คุณพิมพกา โตวิระ โปรดิวเซอร์และผู้ก�ำกับภาพยนตร์ ได้แสดงความเห็นเก่ียวกับการสร้าง
โปรไฟลข์ องผกู้ ำ� กบั และโปรดวิ เซอรเ์ อาไวว้ า่ “บางคน (ผกู้ ำ� กบั ) มาพรอ้ มกบั ไอเดยี ทต่ี วั เองอยากทำ� มากๆ
แต่สุดท้ายแล้ว มันท�ำไม่ได้ ด้วยเหตุผลท่ีหลากหลาย แล้วต้องยอมรับอย่างหน่ึง วงการอินด้ี ไม่ว่าไทย
หรือต่างประเทศ กว่าจะถึงขั้นที่เราจะได้เงินได้ทุนมา มันต้องสร้างโปรไฟล์มากเลย ท�ำยังไงถึงจะสร้าง
ตรงนี้ อาจจะตอ้ งท�ำหนังสน้ั ไปก่อน มันใจรอ้ นไมไ่ ด.้ ..สมมตสิ รา้ งโปรไฟล์ ท�ำหนังสนั้ อะไรแล้วระดับหนึ่ง
ต่อไปก็ต้องหาโปรดิวเซอร์ ซึ่งโปรดิวเซอร์ก็ต้องมีโปรไฟล์แข็งแรงทีเดียว ซึ่งโปรไฟล์ของโปรดิวเซอร์ท่ี
แข็งแรง คอื ต้องมผี ลงานท่ผี ลติ แลว้ ได้ฉายตามเทศกาลต่างๆ อย่างนี้ อนั นน้ั กช็ ่วยได้ แตถ่ ึงท่สี ดุ แล้วมันก็
ตอบไมห่ มด มนั กต็ อ้ งมกี ารทำ� ไอ้ Proposal นะ่ (แพก็ เกจ)” (สนทยา และทฆี ะเดช, 2553: 71-73) เพราะ
ฉะนั้นผู้ก�ำกับท่ีเคยสร้างช่ือในการประกวดภาพยนตร์สั้น เคยได้รับรางวัล หรือภาพยนตร์ได้ถูกเลือกไป
ฉายตามเทศกาล และโปรดวิ เซอรท์ ม่ี ผี ลงานทผ่ี ลติ แลว้ และไดไ้ ปฉายตามเทศกาลกจ็ ะมโี อกาสประสบความ
ส�ำเรจ็ ในการขอทนุ สงู กว่าผู้ท่ีไมม่ ีประสบการณ์

       สง่ิ ทส่ี ำ� คญั ทจ่ี ะตอ้ งระบเุ ขา้ ไปในแพก็ เกจนนั้ ตอ้ งไมใ่ ชเ่ พยี งแคช่ อ่ื ของบคุ คลเทา่ นนั้ แตจ่ ะตอ้ งแนบ
ประวัติส่วนตัวและผลงานที่เคยท�ำมาด้วย และอีกส่ิงที่ขาดไม่ได้ ก็คือ Director’s Statement หรือ
ถอ้ ยแถลงของผกู้ ำ� กบั เปน็ สว่ นทส่ี ำ� คญั ในแพก็ เกจทผ่ี สู้ นบั สนนุ ทนุ สำ� หรบั ภาพยนตรแ์ นวศลิ ปะมกั จะมอง
หาเพ่อื ประกอบการพิจารณา ความยาวไมเ่ กินหน่ึงหนา้ มีลักษณะคล้ายๆ กบั จดหมายท่ีเขยี นให้ผทู้ จ่ี ะให้
ทุนหรือโปรดิวเซอรไ์ ดอ้ า่ น ไดท้ �ำความรู้จกั กบั ผูก้ �ำกับมากข้นึ เพราะ statement เป็นงานเขยี นที่สะท้อน
ถงึ บคุ ลกิ และพน้ื ฐาน/เบอ้ื งหลงั ทางแนวคดิ ของผกู้ ำ� กบั โดยผกู้ ำ� กบั จะตอ้ งเขยี นแสดงถงึ วสิ ยั ทศั น์ (vision)
ความตั้งใจ (intention) และโดยเฉพาะอย่างย่ิงแรงบันดาลใจ (inspiration) ของที่น�ำมาสู่การสร้าง
ภาพยนตร์เร่ืองน้ันๆ และภาพยนตร์เร่ืองน้ันส�ำคัญกับตนเองอย่างไร รวมไปถึงการสะท้อนเอกลักษณ์
เฉพาะตัว และความเป็นตัวตน (auteur หรอื author) ของผ้กู ำ� กบั คนนน้ั ๆ อกี ด้วย

       สิ่งท่ีส�ำคัญต่อมาก็คือ ชื่อของบริษัทสร้างภาพยนตร์ (production house) ก็เป็นอีกหนึ่ง
องค์ประกอบส�ำคัญที่ท�ำให้เห็นว่าโครงการภาพยนตร์ดูมีความพร้อมในด้านทีมงานฝ่ายผลิต บริษัทท�ำ
ภาพยนตรน์ อกกระแสท่มี อี ยู่ในประเทศไทยน้นั ก็ได้แก่ Extra Virgin, Pop Pictures, Mit Out Sound
ฯลฯ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33