Page 23 - การบริหารงานภาพยนตร์
P. 23

การพฒั นาโครงการสรา้ งภาพยนตร์นอกกระแส 12-11

เร่ืองที่ 12.2.1
การสรรหาบทภาพยนตร์และทีมงานหลัก

       ขน้ั ตอนการพฒั นาโพรเจก็ ต์ จะประกอบดว้ ย 2 ส่วนใหญ่ๆ นน่ั กค็ ือ 1) การสรรหาบทภาพยนตร์
และทีมงานหลัก และ 2) การจัดท�ำชุดนำ� เสนอโครงการภาพยนตร์ (film project package)

       การรเิ ริ่มโพรเจ็กต์ ภาพยนตรส์ ามารถเรมิ่ ต้นขน้ึ ไดจ้ ากคนเพยี ง 2 คนที่จะท�ำหน้าที่เป็นทมี งาน
หลักในการพัฒนาโพรเจ็กต์ นน่ั กค็ อื ผอู้ �ำนวยการสร้าง (producer) และผู้ก�ำกับภาพยนตร์ (director)
ซง่ึ บคุ คลทง้ั สองนจี้ ะเรมิ่ ตน้ โพรเจก็ ตจ์ ากบทภาพยนตร์ ซง่ึ อาจจะเปน็ เคา้ โครงบท หรอื เปน็ เพยี งแคแ่ นวคดิ
หลักเพียงอย่างเดียวก็ได้ โดยมากการท�ำภาพยนตร์นอกกระแสผู้ก�ำกับมักจะเป็นผู้ที่เขียนบทด้วยตนเอง
และจะน�ำบทภาพยนตร์ไปเสนอแก่โปรดิวเซอร์ หากโปรดิวเซอร์พึงพอใจในตัวบทหรือไอเดีย และการ
ท�ำงานร่วมกับผู้ก�ำกับคนน้ันๆ โปรดิวเซอร์ (ในฐานะเจ้าของโพรเจ็กต์) ก็จะต้องด�ำเนินการขั้นต่อไปน่ัน
กค็ อื การขอทุนสรา้ งภาพยนตร์

       ผอู้ ำ� นวยการสรา้ งภาพยนตร์ (producer) ไมว่ า่ ในหรอื นอกกระแสจะเปน็ ผเู้ สาะหาบทภาพยนตร์
หรือผู้เขียนบทภาพยนตร์ (screenwriter) หรือบางครั้งก็อาจจะเขียนบทภาพยนตร์ด้วยตนเอง คัดสรร
ตัวผู้ก�ำกับและทีมงานฝ่ายอื่นๆ หาทุนสร้าง บริหารจัดการกองถ่ายท�ำ  ควบคุมการตัดต่อ หาสถานท่ี
ฉายภาพยนตร์ จดั จำ� หนา่ ยไปยงั บรษิ ทั ผลติ แผน่ หนงั เคเบล้ิ ทวี ี และตา่ งประเทศ สง่ ไปเทศกาลภาพยนตร์
และอีกมาก เหล่าน้ีท�ำให้โปรดิวเซอร์เป็นผู้ที่มีความส�ำคัญมากในข้ันตอนของการพัฒนาโครงการสร้าง
ภาพยนตร์ เพราะโปรดวิ เซอรจ์ ะผคู้ ดิ รเิ รม่ิ โพรเจก็ ต ์  และคอยผลกั ดนั โพรเจก็ ตภ์ าพยนตรน์ นั้ ใหไ้ ดเ้ กดิ ขนึ้
จริง ถูกสร้างข้ึนจริง และสร้างจนเสร็จ (ไม่ได้จบอยู่เพียงแต่ความคิดท่ีเขียนอยู่ในกระดาษ) ด้วยเหตุน้ี
โปรดิวเซอร์จึงเป็นบุคคลแรกท่ีจะเป็นผู้ริเร่ิมโพรเจ็กต์สร้างภาพยนตร์ และในขณะเดียวกันก็จะเป็นคน
สดุ ทา้ ยปดิ งานภาพยนตร์ ดว้ ยคณุ สมบตั เิ หลา่ นท้ี ำ� ใหโ้ ปรดวิ เซอรม์ ลี กั ษณะเปน็ เจา้ ของโพรเจก็ ตภ์ าพยนตร์
(project owner) น่ันเอง แต่ถ้าหากผู้ก�ำกับคือ ผู้ที่ริเร่ิมโพรเจ็กต์ เขาหรือเธอก็จะอยู่ในฐานะเจ้าของ
โพรเจก็ ต์ไดเ้ ช่นเดียวกนั

       คุณพันธุ์ธัมม์ ทองสังข์ ผู้ก�ำกับและโปรดิวเซอร์ภาพยนตร์ไทยท้ังในและนอกกระแส (สามารถ,
2552) ไดก้ ลา่ ววา่ โปรดวิ เซอรภ์ าพยนตรน์ อกกระแสในฐานะทเี่ ปน็ เจา้ ของโครงการ ไดก้ ลา่ วถงึ การบรหิ าร
ต้นทุนท่ีมีความเสี่ยงในการท�ำภาพยนตร์นอกกระแสไว้ว่า ตัวเขาในฐานะโปรดิวเซอร์จะต้องรับผิดชอบ
ตน้ ทนุ ในขนั้ ตอนการพฒั นาโครงเรอื่ งจนเปน็ บทภาพยนตรท์ ส่ี มบรู ณแ์ บบ (ซงึ่ อาจจะเปน็ การรว่ มกนั ทำ� งาน
ระหว่างผู้ก�ำกับ 2-3 คน) ไปจนกระทั่งถึงข้ันตอนการสรรหาทีมงานและตัวผู้ก�ำกับ ซ่ึงในระหว่างนี้ไม่มี
นักลงทุนใดพร้อมท่ีจะจ่ายเงินเลย ทั้งนี้เพราะการพัฒนาเค้าโครงเร่ืองนั้นอาจจะเกิดการถ่ายท�ำจริงเพียง
หนงึ่ หรอื สองเรอ่ื งจากโพรเจก็ ตท์ ม่ี อี ยเู่ ปน็ จำ� นวนมาก ซง่ึ แตล่ ะโพรเจก็ ตก์ อ็ าจจะมคี า่ ใชจ้ า่ ยตง้ั แตห่ ลกั หมนื่
หลายๆ เรอื่ งรวมกนั กอ็ าจจะเปน็ หลกั แสน
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28