Page 23 - การเขียนภาษาอังกฤษ 2
P. 23

Essay Writing 14-11

สนับสนุน​ประเด็น​เพิ่ม​เติม และ​ใน​ระหว่าง​ย่อหน้า​มี​การ​ใช้​ตัว​เชื่อม​เพื่อ​บ่ง​บอก​ลำ�ดับ​ของ​ประเด็น​เหตุผล​ที่​นำ�​
มาส​นับส​ นุน เช่น ‘Another drawback’, ‘Finally’

EXPLANATION

1. 	ความแ​ ตกต​ า่ งร​ ะหวา่ งย​ อ่ หนา้ แ​ ละ​เรียงค​ วาม (Differences between a Paragraph and an Essay) ย่อหน้า​
และเ​รียงค​ วามม​ คี​ วามส​ มั พนั ธเ์​กีย่ วข้องก​ นั กล่าวค​ ือ ยอ่ หนา้ บ​ างย​ อ่ หน้าอ​ าจม​ ใี​จความท​ คี​่ รบถ​ ว้ นส​ มบรู ณใ​์ นต​ ัว​
เอง แต่ใ​นห​ ลาย ๆ กรณี ย่อหน้า​มัก​เป็นส​ ่วนห​ นึ่งข​ องเ​รียง​ความ โดย​เรียง​ความจ​ ะป​ ระกอบ​ด้วย​ย่อหน้าต​ ่าง ๆ
ที่​อธิบาย​หรือ​ให้​ราย​ละเอียด​เกี่ยว​กับ​ใจความ​หลัก​หรือ​ใจความ​สำ�คัญ​ของ​เรียง​ความ​นั้น ถึง​แม้ว่า​ย่อหน้า​กับ​
เรียง​ความ​จะ​ไม่​สามารถ​แยก​จาก​กัน​ได้​อย่าง​สมบูรณ์ แต่​ถ้า​พิจารณา​ใน​แง่​ของ​ลักษณะ​หรือ​องค์​ประกอบ​ของ​
ข้อความ​แล้ว สามารถ​ระบุค​ วาม​แตกต​ ่าง​ระหว่าง​ย่อหน้าแ​ ละเ​รียง​ความไ​ด้​ดังนี้

      1.1 	ขนาด​และ​ความ​ยาว​ของ​ข้อความ โดย​ทั่วไป​ย่อหน้า​มัก​มี​ขนาด​สั้น​กว่า​เรียง​ความ เพราะ​ย่อหน้า​
ให้ร​ ายล​ ะเอียดส​ นับสนุนใ​จความห​ ลักใ​จความเ​ดียว แต่เ​รียงค​ วามป​ ระกอบด​ ้วยย​ ่อหน้าห​ ลายย​ ่อหน้าท​ ี่​ร่วมก​ ัน​
ให้​ราย​ละเอียด​สนับสนุน​ใจความ​หลัก​ของ​เรียง​ความ​นั้น แต่​ใน​บาง​กรณี​เรียง​ความ​อาจ​มี​ขนาด​เท่า​กัน​หรือ​สั้น​
กว่า​ย่อหน้า​ได้ ถ้า​เป็น​เรียง​ความ​ที่​ประกอบ​ด้วย​ย่อหน้า​สั้น ๆ เพียง 2-3 ย่อหน้า​เมื่อ​เทียบ​กับ​บาง​ย่อหน้า​ที่​มี​
รายล​ ะเอียดส​ นับสนุน​ค่อนข​ ้างม​ าก เช่น ย่อหน้าท​ ี่ม​ ี​จุดป​ ระสงค์​เพื่อบ​ รรยายห​ รือพ​ รรณนาค​ วาม

      1.2 	หัวข้อ โดยท​ ั่วไปแ​ ล้ว การเ​ขียนย​ ่อหน้าแ​ ละก​ ารเ​ขียนเ​รียงค​ วามม​ ีห​ ลักก​ ารใ​น​การก​ ำ�หนดห​ ัวข้อท​ ี่​
จะ​เขียน​ไม่​แตก​ต่าง​กัน เช่น หัวข้อ​ไม่​ควร​แคบ​หรือ​กว้าง​จน​เกิน​ไป แต่​ใน​บาง​กรณี​หัวข้อ​บาง​หัวข้อ​เหมาะ​ที่​จะ​
เขียนเ​ป็นเ​รียงค​ วามม​ ากกว่าเ​ขียนเ​ป็นย​ ่อหน้า เช่น หัวข้อท​ ีเ่​น้นก​ ารเ​ปรียบเ​ทียบค​ วามเ​หมือนห​ รือค​ วามต​ ่าง หรือ​
หัวข้อ​ที่​เน้น​การ​แสดง​ความ​คิด​เห็น​หรือ​การ​โต้​แย้ง เนื่องจาก​ใน​กรณี​ดัง​กล่าว ผู้​เขียน​มัก​จะ​มี​ประเด็น​ย่อย ๆ
หลายป​ ระเด็นใ​นก​ ารนำ�​เสนอ​ความค​ ิด ซึ่งก​ าร​เขียนเ​รียงค​ วามจ​ ะท​ ำ�ให้ผ​ ู้​เขียนอ​ ธิบายป​ ระเด็นย​ ่อยต​ ่าง ๆ แต่ละ​
ประเด็นอ​ ย่างล​ ะเอียดใ​นย​ ่อหน้าต​ ่าง ๆ ได้ ในข​ ณะท​ ี่ผ​ ู้เ​ขียนอ​ าจจ​ ะไ​ม่ส​ ามารถใ​ห้ร​ ายล​ ะเอียดท​ ี่ส​ ำ�คัญท​ ั้งหมดไ​ด​้
ในก​ ารเ​ขียนเ​พียงแ​ คย่​ ่อหน้าเ​ดียว อีกป​ ระเด็นห​ นึ่งท​ ีอ่​ าจเ​ป็นข​ ้อส​ ังเกตไ​ด้ คือ การเ​ขียนย​ ่อหน้าอ​ าจไ​มจ่​ ำ�เป็นต​ ้อง​
มีชื่อ​เรื่องห​ รือช​ ื่อห​ ัวข้อก​ ็ได้ แต่​การเ​ขียน​เรียง​ความ​ส่วน​ใหญ่​มัก​จะ​ปรากฏ​ชื่อเ​รื่อง​หรือ​ชื่อ​หัวข้อ​ด้วย

      1.3 	ส่วน​นำ� โดย​ทั่วไป​แล้ว ทั้ง​ย่อหน้า​และ​เรียง​ความ​จะ​มี​ส่วน​นำ�​ที่​เป็น​ตัว​กำ�หนด​ทิศทาง​การ​เขียน​
หรือก​ ารนำ�​เสนอ​ราย​ละเอียด แต่​ความแ​ ตก​ต่าง​คือ ส่วน​นำ�​ของย​ ่อหน้า​มัก​ประกอบ​ด้วย​ประโยค​ใจความ​หลัก​
ประโยค​เดียว​โดย​ส่วน​ใหญ่​เป็น​ประโยค​แรก​ของ​ย่อหน้า แต่​ส่วน​นำ�​ของ​เรียง​ความ​มัก​จะ​อยู่​ใน​รูป​แบบ​ของ​
ย่อหน้า​นำ�  (introductory paragraph) ที่​อาจ​จะ​มี​ราย​ละเอียด​ที่มา​กก​ว่า เช่น มี​การ​เกริ่น​นำ�​หรือ​ให้​ข้อมูล​
พื้น​ฐาน​ของ​เรื่อง​นั้น ๆ ก่อน​ที่​จะ​มี​ประโยค​ใจความ​หลัก​อยู่​ใน​ส่วน​ท้าย​ของ​ย่อหน้า​นำ�  ตัวอย่าง​เช่น การ​เขียน​
ย่อหน้าท​ ี่​เกี่ยว​กับ​การ​เดิน​ทาง​คน​เดียว อาจ​มี​ส่วน​นำ�​ที่​เป็น​ประโยคใ​จความห​ ลัก​ประโยคเ​ดียว เช่น ‘Travel-
ling alone is much more fun than travelling with friends.’ และ​ตาม​ด้วยร​ ายล​ ะเอียด​สนับสนุนใ​น​ส่วน​
ที่​เหลือ​ของ​ย่อหน้า ใน​ขณะ​ที่​การ​เขียน​เรียง​ความ​ใน​หัวข้อ​เดียวกัน อาจ​มี​ราย​ละเอียด​มาก​ขึ้น​ใน​ย่อหน้าน​ ำ�​ได้
เช่น ‘Most people love to travel when they have time, but they may disagree on the best way to
travel. Some people prefer to travel alone, while some people f ind it much better to travel with
friends, preferably in a big group. Those who love ‘solo’ travelling f ind it more practical and
f lexible, whereas those who go out with a companion f ind it more fun and safe. I have done
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28