Page 22 - การเขียนภาษาอังกฤษ 2
P. 22
14-10 การเขียนภาษาอังกฤษ 2
of the worst cases, female students who have their period and refuse to eat iron-rich meat can
get anemia. This kind of disorder directly reduces their ability to learn and enjoy activities that
their peers can do easily.
Another drawback for those who are vegetarian is that they will f ind it hard to have lunch
or dinner, especially for university students. When the class time is up and all of the students are
heading to the cafeteria for lunch, veggie students will f ind themselves heading to convenience
stores and eating their lunch alone while their friends are talking and eating with enjoyment. This
is because there are not many food shops that can provide them with their favorite vegetarian
dishes.
Finally, being vegetarian for students leads them to lose more money. Unlike adults, teens’
stomachs have the ability to digest whatever they have eaten; vegetarian food cannot last long
in their stomach. They will be starving for more food right after eating their meal, and end up at
the school’s cafeteria or a local market, spending their extra money on those green salads with
sticky and so-called low fat salad dressing. By my observation at the local market in campus, the
prices of these vegetarian diets depend on how much you would like to eat and they can be as
high as 50 baht per meal. Still, we are not talking about the fullness they will get by eating this
kind of food instead of regular food.
In spite of all these reasons above, I do not mean that being vegetarian is not right.
It is just that, in my point of view, the student and teenage years are not the time to get into
vegetarianism. Teenage and student bodies need something vital, such as the signif icant
minerals and nutrients found only in meat more than in those high-f iber foods. Even so, you do
not have to struggle for your food every time you are hungry. So why try to be veggie when you
can choose an easier way to live?
ถ้าวิเคราะห์เรียงความข้างต้นนี้ในแง่ขององค์ประกอบ พบว่า ย่อหน้าแรกของเรียงความเป็นส่วนนำ�
ซึ่งเริ่มต้นด้วยการเกริ่นนำ�เข้าสู่เรื่องโดยผู้เขียนเล่าถึงประสบการณ์ที่ได้พูดคุยกับผู้ที่รับประทานอาหาร
มังสวิรัติ และจ บย ่อหน้าแ รกด ้วยป ระโยคใจความห ลักท ีแ่ สดงค วามค ิดเห็นข องผ ูเ้ขียนอ ย่างช ัดเจนว ่าน ักศึกษา
มหาวทิ ยาลยั ไมค่ วรร บั ป ระทานอ าหารม งั สวริ ตั ิ ยอ่ หนา้ ท สี่ องถ งึ ย อ่ หนา้ ท สี่ เี่ ปน็ ย อ่ หนา้ ท ใี่ หร้ ายล ะเอยี ดส นบั สนนุ
ใจความห ลกั ท ผี่ เู้ ขยี นน �ำ เสนอไวใ้ นย อ่ หนา้ แ รก แตล่ ะย อ่ หนา้ เริม่ ต น้ ด ว้ ยป ระโยคใจความห ลกั ท ชี่ ใี้ หเ้ หน็ ว า่ ท �ำ ไม
นักศึกษาไมค่ วรร ับป ระทานอ าหารม ังสวิรัติ ตามด ้วยก ารใหร้ ายล ะเอียดด ้วยว ิธตี ่าง ๆ เช่น การแ สดงข ้อเท็จจ ริง
การยกตัวอย่าง หรือประสบการณ์ของผู้เขียนที่มีต่อเรื่องดังกล่าว ส่วนย่อหน้าสุดท้ายเป็นย่อหน้าสรุปโดย
ผู้เขียนยํ้าถึงเหตุผลที่นักศึกษามหาวิทยาลัยไม่ควรรับประทานอาหารมังสวิรัติ และใช้การตั้งคำ�ถามเป็นการ
จบย ่อหน้าส รุปและจ บเรียงค วามเพื่อโน้มน้าวให้ผู้อ่านค ิดต ามและคล้อยตามข้อโต้แย้งของผ ู้เขียน
ในแง่ของการเชื่อมโยงความคิด จะเห็นว่าเรียงความมีการเชื่อมโยงความคิดทั้งในแต่ละย่อหน้าและ
ระหว่างย่อหน้า ตัวอย่างเช่น ในย่อหน้าที่สอง มีการใช้คำ�ว่า ‘For example’ เป็นตัวเชื่อมเพื่อยกตัวอย่าง