Page 27 - การออกแบบทางการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 27
การออกแบบขวด 11-17
4.1 ก้นขวดแก้ว เน่ืองจากแก้วเป็นวัสดุที่มีนํ้าหนักมากกว่าพลาสติก เมื่อน�ำมาข้ึนรูปขวดแก้ว
จึงมีความสามารถในการต้ังท่ีดีกว่าขวดพลาสติก (ไม่ล้มง่าย) ดังนั้นในการข้ึนรูปขวดแก้วจึงไม่จ�ำเป็น
ตอ้ งเพม่ิ นาํ้ หนกั ทก่ี น้ ขวด เพอ่ื เพมิ่ เสถยี รภาพและความสามารถในการตงั้ ไดแ้ บบทพี่ บในการขนึ้ รปู ในขวด
พลาสติก โดยทั่วไปก้นขวดแก้วมักมีรูปแบบบุ๋มเข้าด้านใน และมีแถบกันล่ืน ซ่ึงแถบกันล่ืนดังกล่าว
ท�ำหน้าที่ในการป้องกันไม่ให้ขวดล่ืนล้มขณะเคลื่อนท่ีในสายการผลิต อีกท้ังยังช่วยลดการเสียหายของ
ขวดแก้วเนื่องจากเทอร์มัลช็อก* (thermal shock) ที่เกิดขึ้นจากการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิอย่างรวดเร็ว
ในชว่ งท่ขี วดแกว้ ออกจากแมพ่ มิ พ์ใหมๆ่ และสัมผัสสายพานในกระบวนการผลิตทนั ที ดังนัน้ นักออกแบบ
ต้องออกแบบท้ังรูปแบบและขนาดของแถบกันลื่นท่ีก้นขวดแก้วให้เหมาะสม เน่ืองจากหากออกแบบไม่ดี
อาจท�ำให้ขวดล้มง่ายเกิดการแตกหกั เสียหาย และแถบกันลื่นจะกลายเปน็ ทเี่ กบ็ สะสมของสิง่ สกปรกท�ำให้
เกิดการปนเป้อื นในสายการผลติ ได้
เครอื่ งหมายการค้า 52 เลขที่โรงงาน
เลขทแ่ี มพ่ ิมพ์ 73 วนั ผลติ
ภาพที่ 11.9 ข้อมูลที่ก้นขวดแก้ว
4.2 ก้นขวดพลาสติก เนอ่ื งจากพลาสตกิ เปน็ วสั ดทุ ม่ี นี าํ้ หนกั เบา เมอื่ นำ� มาผลติ เปน็ ขวดจงึ จำ� เปน็
ต้องออกแบบก้นขวดให้มีลักษณะเฉพาะ เพ่ือช่วยรักษาสมดุลของขวด ช่วยให้ขวดไม่ล้มตลอดการบรรจุ
และนำ� ส่งสนิ คา้ ถึงผบู้ ริโภคได้ ซึ่งผอู้ อกแบบสามารถท�ำได้โดยใช้หลกั การพืน้ ฐาน 2 ประการ ไดแ้ ก่ การ
เพ่มิ นา้ํ หนักทกี่ ้นขวดและการออกแบบก้นขวดให้มีลกั ษณะเป็นซๆี่
ตัวอย่างรูปแบบของก้นขวดพลาสติก เช่น ก้นขวดแบบฟุตเบส (foot base) ก้นขวดแบบ
แฟตริบเบดเบส (flat-ribbed base) ก้นขวดแบบแชมเปญเบส (base champagne) และก้นขวดแบบ
ฮอตฟิลล์เบส (base hot-fill base) เปน็ ต้น ซง่ึ รปู แบบของก้นขวดพลาสตกิ มกี ารพัฒนาและจดสิทธบิ ัตร
อยา่ งต่อเนอื่ ง ซ่ึงกน้ ขวดแต่ละแบบจะมีรูปแบบและการใชง้ านดงั น้ี
* เทอร์มัลช็อก หมายถงึ การเสยี สภาพหรือการแตกหักของวสั ดุเนอ่ื งจากสมั ผัสกับการเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมโิ ดยฉับพลนั
97318-11 คร้ังที่ 4 (11.05.58) M-6-i6 ai (19-2/57)-ZA