Page 34 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 34
7-22 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
ภาพท ่ี 7.11 แรงภ ายในโมเลกุลและแ รงร ะหว่างโมเลกุลข องพ อล เิอทิลีน
1.1 แรงภ ายในโมเลกลุ ข องพ อลเิ มอร์ เปน็ พ นั ธะเคมหี รอื พ นั ธะป ฐมภ มู ทิ ปี่ รากฏภ ายในโมเลกลุ ข องพ อลเิ มอร์
ได้แก่ พันธะโคเวเลนต์ และพันธะไอออนิก
1.1.1 พันธะโคเวเลนต์ พอลิเมอร์ประกอบด้วยหน่วยซํ้าๆ ของมอนอเมอร์ที่เชื่อมต่อกันด้วยพันธะ
โคเวเลนต์ ดังนั้นพันธะเคมีส่วนใหญ่ในพอลิเมอร์คือ พันธะโคเวเลนต์ ซึ่งเป็นพันธะเคมีที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์
อิเล็กตรอนร ่วมก ันร ะหว่างอ ะตอม พันธะโคเวเลนต ์ในพ อลิเมอร์ ได้แก่ พันธะเดี่ยว พันธะค ู่ และพ ันธะส าม ค่าค วาม
แข็งแ รงข องพ ันธะโคเวเลนต ห์ รือพ ลังงานข องก ารส ลายพ ันธะข องพ อลิเมอรม์ คี วามส ัมพันธโ์ดยตรงก ับค วามค งทนต ่อ
ความร ้อน (thermal stability) ของพ อลิเมอร์ ดังตัวอย่างพ ันธะโคเวเลนต์ในมอน อเมอร์ไวนิลแ ละพอลิเมอร์ด ังนี้
XX XX
พันธะโคเวเลนต์ทำ�ให้โมเลกุลของพอลิเมอร์เกิดสภาพมีขั้ว (polarity) เพราะพอลิเมอร์เกิดจากกลุ่ม
มอน อเมอ ร์ท ี่ย ึดเหนี่ยวก ันด ้วยพ ันธะโคเวเลนต ์ และม อน อเมอ ร์เองก ็เป็นส ารป ระก อบโคเวเลนต ์ข องอ ะตอมค าร์บอน
(C) และไฮโดรเจน (H) เป็นหลัก บางครั้งในโมเลกุลอาจประกอบด้วยธาตุอื่น อาทิ ออกซิเจน (O) ไนโตรเจน (N)
ซัลเฟอร์ (S) คลอรีน (Cl) ฟลูออรีน (F) และซิลิกอน (Si) สารประกอบโคเวเลนต ์ไม่มีป ระจุไฟฟ้าชัดเจนเหมือนอ ย่าง
สารประกอบไออ อน ิก แตจ่ ะม แี ตส่ ภาพม ขี ั้วท างไฟฟ้าเนื่องจากแ รงดึงดูดอ ิเล็กตรอนข องส ารท ีม่ คี ่าส ภาพไฟฟ้าล บห รือ
อิเล็กโทรเนกท ิวิต ี (electronegativity, EN) แตกต ่างก ัน
พอลิเมอร์จะเกิดสภาพมีขั้วหรือไม่มีขั้ว (nonpolarity) นั้นจะไปเป็นตามสภาพมีขั้วและไม่มีขั้วของ
โมเลกุลมอนอเมอร์ ถ้าในโครงสร้างของมอนอเมอร์ประกอบด้วยธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเพียงสองชนิดเท่านั้น
มอนอเมอร์นั้นจะไม่เกิดสภาพมีขั้วและพอลิเมอร์ของมอนอเมอร์ชนิดนั้นก็จะไม่มีขั้วเช่นกัน ที่เป็นเช่นนี้เนื่องจากค่า