Page 37 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 37
พอลิเมอร์ 7-25
ภาพท่ี 7.13 พกบั ออลอเิมกอซริเ์จ2นส(าOยท) ซเ่ี กงึ่ ิดมแีสรภงไาดพโขพั้วลลรบะห(δว—่า)งไฮโดรเจน (H) ซง่ึ ม ีสภาพข ว้ั บ วก (δ+)
1.2.2 พนั ธะไฮโดรเจน หมายถ งึ พันธะร ะหวา่ งอ ะตอมไฮโดรเจนข องโมเลกุลก บั ธ าตทุ ีม่ คี า่ ส ภาพไฟฟา้
ลบส ูงแ ละมีข นาดเล็กพ อเหมาะ ได้แก่ ออกซิเจน (O) ไนโตรเจน (N) และฟลูออรีน (F) ได้เป็นพันธะร ะหว่างโมเลกุล
ที่มีพลังงานสูงและมีความแข็งแรงมากกว่าแรงไดโพล ส่วนพันธะไฮโดรเจนระหว่างพอลิเมอร์มักจะเกิดตรงหมู่
ฟังก์ชันของโมเลกุล อาทิ หมู่คาร์บ อกซ ิล หมู่ไฮด รอกซิล อะมีน หรือเอไมด์ ตัวอย่างการเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่าง
(δ+)
โมเลกุลของพ อล ิย ูร ีเทนโดยอ ะตอมไฮโดรเจนซึ่งม ีส ภาพข ั้วบ วก เกิดพ ันธะก ับอ ะตอมอ อกซิเจนซ ึ่งม ีส ภาพข ั้วลบ
(δ—) ของส ายโมเลกุลข้างเคียง
ภาพท ี่ 7.14 ตัวอย่างพ นั ธะไฮโดรเจนระหว่างพอลยิ รู ีเทน
1.2.3 แรงเหนี่ยวน�ำ หมายถ ึง แรงดึงดูดท ี่เกิดขึ้นเมื่อโมเลกุลในสภาพม ีข ั้วไปเหนี่ยวนำ�ให้โมเลกุลใน
สภาพไม่มีขั้วเกิดสภาพไดโพลข ึ้น ทั้งนี้เพราะโมเลกุลท ี่มีส ภาพมีข ั้วน ี้ไปด ึงดูดหรือผ ลักกลุ่มหมอกอ ิเล็กตรอนร อบๆ
โมเลกุลที่ไม่มีขั้ว แรงเหนี่ยวน ำ�ไดโพลเกิดข ึ้นเมื่อโมเลกุลในส ภาพม ีขั้วก ับโมเลกุลในส ภาพไม่มีขั้วมาอ ยู่ในระยะใกล้
กันจนสามารถเกิดก ารเหนี่ยวนำ�อิเล็กตรอนซึ่งก ันและกันได้ แต่จะเกิดสภาพไดโพลเพียงชั่วคราว สภาพไดโพลนี้จะ
หมดไปเมื่อโมเลกุลเคลื่อนที่อ อกห ่างจ ากก ัน แรงเหนี่ยวน ำ�ไดโพลเป็นแ รงดึงดูดท ี่ม ีพ ลังงานน ้อยก ว่าพ ันธะไฮโดรเจน
และแรงไดโพลตามล ำ�ดับ