Page 40 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 40
7-28 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
จากตัวอย่างค่าพารามิเตอร์การละลายในตารางที่ 7.3 สามารถนำ�มาใช้ในการพิจารณาการละลายของ
พอล ิเมอ ร์ในตัวท ำ�ละลายจ ากต ารางข้างต้น ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการทราบว่าพอลิเอทิลีนที่มีค่าพารามิเตอร์การละลายเท่ากับ 7.9 แคลอรีต่อลูกบาศก์
เซนติเมตร จะสามารถละลายในโทลูอีนที่มีค่าพารามิเตอร์การละลายเท่ากับ 8.9 แคลอรีต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
ได้ห รือไม่
จากตัวอย่างสารพอลิเอทิลีนละลายได้ในโทลูอีน ละลายได้ ทั้งนี้เพราะระหว่างพอลิเอทิลีนและโทลูอีนไม่มี
แรงดึงดูดร ะหว่างโมเลกุลที่ส ูง เช่น พันธะไฮโดรเจน เกิดข ึ้น ดังนั้นจึงพ ิจารณาก ารละลายจากพ ารามิเตอร์การละลาย
ได้จากการหาค ่าค วามแตกต ่างของพ ารามิเตอร์การละลายร ะห ว่างโทล ูอีนแ ละพ อลิเอทิลีน ซึ่งเท่ากับ 8.9 — 7.9 = 1.0
ดังนั้นพอลิเอทิลีนสามารถละลายในโทลูอีนได้ เพราะความแตกต่างของพารามิเตอร์การละลายระหว่าง
โทลูอีนและพอลิเอทิลีน มีค ่าเท่ากับ 1.0 ซึ่งน ้อยก ว่า 1.7
กจิ กรรม 7.2.1
1. พันธะเคมหี รือพ นั ธะปฐมภูมชิ นดิ ใดที่เปน็ พ ันธะหลกั ในพ อลเิ มอร์ เพราะเหตุใดจ ึงเป็นเช่นน ัน้
2. พอลเิ มอรช์ นดิ ท่ีม สี ภาพมขี ว้ั กับชนิดทไี่ ม่มีสภาพมขี ั้วจ ะเกิดแรงร ะหว่างโมเลกุลแบบใดไดบ้ ้าง
3. ถ้าพอลิบิวทะไดอีนมีค่าพารามิเตอร์การละลายเท่ากับ 8.4 แคลอรีต่อลูกบาศก์เซนติเมตรสามารถ
ละลายในต ัวท ำ�ละลายเบนซนี ทม่ี ีค า่ พ ารามิเตอรก์ ารล ะลายเทา่ กบั 9.2 แคลอรตี อ่ ลกู บาศกเ์ซนติเมตรไดห้ รอื ไม่
แนวต อบกิจกรรม 7.2.1
1. พันธะโคเวเลนต์ เพราะโมเลกลุ ของพอลิเมอร์ประกอบด ว้ ยอะตอมคารบ์ อนและไฮโดรเจนเป็นสว่ น
ใหญ่ ซึง่ ต ่างเปน็ ธาตุท ม่ี ีแรงดึงดูดอ เิ ล็กตรอนใกล้เคียงกัน หรือม คี ่าส ภาพไฟฟา้ ล บใกล้เคียงกัน จงึ เกิดพ นั ธะทาง
เคมรี ะหว่างกันโดยการใช้เวเลนซอ์ ิเล็กตรอนร ว่ มก ัน
2. พอลเิ มอรช์ นดิ ท ม่ี สี ภาพม ขี ว้ั ส ามารถเกดิ แ รงร ะหวา่ งโมเลกลุ ได้ 3 ชนดิ คอื แรงไดโพลเมอื่ อ ยใู่ กลก้ บั
โมเลกุลของพอลิเมอร์ชนิดท่ีมีสภาพมีขั้ว พันธะไฮโดรเจนเม่ืออยู่ใกล้กับโมเลกุลของพอลิเมอร์ท่ีมีหมู่ฟังก์ชันท่ี
เกิดพนั ธะไฮโดรเจนได้ เช่น หมู่คารบ์ อกซ ลิ หมไู่ ฮด รอ กซลิ อะม นี หรือเอไมด์ เป็นตน้ และแ รงเหนีย่ วน ำ�ไดโพล
เมื่ออยู่ใกล้กับโมเลกุลของพอลิเมอร์ชนิดท่ีไม่มีสภาพมีข้ัว พอลิเมอร์ชนิดท่ีไม่มีสภาพมีขั้วจะมีแรงกระจายเป็น
แรงร ะหวา่ งโมเลกลุ เพียงอ ยา่ งเดยี ว
3. พอล บิ วิ ท าไดอ นี แ ละเบนซ นี ไมม่ แี รงดงึ ดดู ร ะหวา่ งโมเลกลุ ท สี่ งู เชน่ พนั ธะไฮโดรเจน เกดิ ข นึ้ ดงั น นั้
จงึ พ จิ ารณาการละลายจ ากค ่าพารามเิ ตอรก์ ารละลายได้ด งั นี้
ความแตกต า่ งร ะหวา่ งคา่ พ ารามเิ ตอรก์ ารละลายของพอล ิบวิ ทาไดอ ีนแ ละเบนซ ีน คอื 9.2 – 8.4 = 0.8
ดังน ัน้ พอลิบ วิ ท าไดอ ีนส ามารถล ะลายในเบนซ ีนได้ เพราะคา่ ทั้งส องแตกต า่ งก นั นอ้ ยกว่า 1.7