Page 29 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 29

พอลิเมอร์ 7-17
ปฏิกิริยา​จะ​ละลาย​ใน​หยด​ของ​มอ​นอ​เม​อร์ มี​การก​ระ​จาย​ของ​นํ้า​หนัก​โมเลกุล​กว้าง ข้อดี​ของ​การเต​รี​ยม​พอลิเมอร์​
แบบ​แขวนลอย คือ ควบคุม​ความ​หนืด​และ​อุณหภูมิไ​ด้ง​ ่าย เนื่องจาก​นํ้า​สามารถ​ถ่ายเท​ความ​ร้อนไ​ด้ เม็ดพ​ อ​ลิเ​ม​อร์​ที่​
เตรียมไ​ด้ม​ ักม​ ีข​ นาด​เท่ากับเ​ม็ด​มอน​ อ​เมอ​ ร์ จึงแ​ ยก​และน​ ำ�​ไป​ใช้​งาน​ได้​สะดวกโ​ดยก​ ารกร​ อง ชำ�ระ​ล้าง และอ​ ัด​เป็นก​ ้อน​
ใหญ่ และ​พอล​ ิเ​ม​อร์​มีก​ าร​ปนเ​ปื้อนน​ ้อย​มาก ข้อ​ด้อย​ของร​ ะบบ​นี้ คือ พอล​ ิเ​ม​อร์​อาจ​มี​การ​ปนเ​ปื้อนข​ องส​ าร​ช่วยก​ ระจาย
(suspension stabilizer) ของ​เม็ด​มอน​ อเ​มอ​ ร์

                                                ก.

                                                ข.
	 ภาพท​ ่ี 7.7 ก. การเต​รี​ยมพ​ อลิเมอร​แ์ บบแ​ ขวนลอย
	 ข. ภาพข​ ยายข​ องอ​ นุภาคพ​ อลิเมอรท​์ ่เ​ี ตรยี ม​ได้​จาก​การเต​ร​ยี มพ​ อลเิ มอรแ์​ บบ​แขวนลอย

       2.2 	การเต​รี​ยม​พอลิเมอร์​แบบ​อิมัลชัน (emulsion polymerization) เป็นการ​เตรียม​โดย​ให้​สารมอ​นอ​เม​อร์​ 
อยู่​ใน​สภาพ​กระจาย​เป็น​หยด​เล็กๆ ใน​นํ้า และ​เกิด​ปฏิกิริยา​ของ​การ​เกิด​พอ​ลิเ​ม​อร์​แบบ​ปฏิกิริยาลูกโซ่ มีแตก​ต่าง​จาก​
การเต​รี​ยม​พอลิเมอร์​แบบ​แขวนลอย​ตรง​ที่​สาร​เริ่ม​ปฏิกิริยา​จะ​ไม่​ละลาย​ใน​หยด​ของมอ​นอ​เม​อร์​  แต่​จะ​ละลาย​ในนํ้า
และ​หยด​ของ​มอ​นอ​เม​อร์​จะ​มี​ขนาด​เล็ก​กว่า​แบบ​แขวนลอย ข้อดี​ของ​การเต​รี​ยมพอลิเมอร์​แบบ​อิมัลชัน​จะ คล้าย
กับ​แบบ​แขวนลอย คือ ควบคุม​ความ​หนืด​และ​อุณหภูมิ​ได้​ง่าย การ​เปลี่ยน​มอ​นอเม​อร์​เป็น​พอ​ลิ​เม​อร์​เกิด ได้​สูง​มาก​
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34