Page 24 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 24
7-12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
หลังจากเกิดไดเมอร์แล้ว ขั้นต่อไปคือ ไดเมอร์ทำ�ปฏิกิริยาต่อกับมอนอเมอร์ชนิดที่ 1 ชนิดที่ 2 หรือกับ
ไดเมอ ร์ด ้วยกันเกิดเป็นไทรเมอ ร์ (trimer) (4) และ (5) เททระเมอร์ (tetramer) (6) และเป็นพ อลิเมอร์สายโซ่ยาว (7)
ดังส มการ (7.4) ถึง (7.7)
A—R—AB—R′—B + A—R—A A—R—AB—R′—BA—R—A + H2O .........(7.4)
ไดเมอ ร์ มอน อเมอร์ชนิดที่ 1 ไทรเมอ ร์
หรือ B—R′—B + A—R—AB—R’-B B—R′BA—R—AB—R′—B + H2O .........(7.5)
ไดเมอร์ มอนอเมอ ร์ชนิดที่ 2 ไทรเมอร์
หรือ 2 A—R—AB—R′—B A—R—AB—R′—BA—R—AB—R′—B + H2O .........(7.6)
ไดเมอร์ เททระเมอ ร์
ไทรเมอ ร์ + ไทรเมอร์ + เททระเมอร์ + ... —(A—พRอ—ลAิเมBอ—รR์ส′า—ยBโ)ซx—่ยา+ว H2O .........(7.7)
ปฏิกิริยาเกิดต่อเนื่องไปเรื่อยๆ เป็นลำ�ดับขั้นจนกระทั่งสารทำ�ปฏิกิริยากันจนหมด และได้พอลิเมอร์
ที่มีข นาดโมเลกุลใหญ่ จะเห็นได้ว่ามอน อเมอร์ ไดเมอร์ ไทรเมอร์ เทท ระเมอร์เหล่าน ี้เกิดปฏิกิริยาเหมือนกัน คือ เป็น
ปฏิกิริยาระหว่างหมู่ฟังก์ชัน A และ B ดังนั้นจึงมีก ลไกการเกิดปฏิกิริยาและอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาเหมือนกัน
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบควบแน่นส่วนใหญ่จะได้พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างโดยมีหมู่ฟังก์ชันเอสเทอร์ เอไมด์
ยูริเทน ดังภ าพที่ 7.6
ภาพท่ี 7.6 โครงสร้างท ั่วไปข องพ อลเิ มอรท์ ี่เกิดจากปฏกิ ิริยาแบบค วบแนน่
ในปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบควบแน่น ความไวปฏิกิริยา (reactivity) ของหมู่ฟังก์ชันไม่ขึ้นกับขนาด
โมเลกุล ดังน ั้นโมเลกุลด ังเช่น มอนอเมอ ร์ ไดเมอร์ ไทรเมอ ร์ เทท ระเมอ ร์ จึงม ีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเท่าก ัน อย่างไร
ก็ตามในกรณีที่ปฏิกิริยามีนํ้าเกิดขึ้น จำ�เป็นต้องกำ�จัดนํ้าออกจากระบบ เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดไปข้างหน้าและไม่เกิด
ปฏิกิริยาย ้อนก ลับ ปริมาณน ํ้าท ีเ่กิดข ึ้นน ีส้ ามารถใชต้ ิดตามป ฏิกิริยาแ ละว ัดอ ัตราก ารเกิดป ฏิกิริยาได้ นอกจากน ีก้ ารว ัด
ปริมาณก รดค าร์บ อกซ ิล ิกท ี่ห ายไปโดยก ารไทเทรตก ับส ารละลายโพแทสเซียม ไฮด รอ กไซด์ (potassium hydroxide,
KOH) ในเมทาน อล (methanol) สามารถใช้ติดตามปฏิกิริยาได้เช่นเดียวกัน