Page 21 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 21

พอลิเมอร์ 7-9

            2.4.2 	 ลกั ษณะโ​ครงสรา้ งแ​ บบก​ งิ่ ก​ า้ นส​ าขา โครงสร้างแ​ บบน​ ีเ้​ป็นการจ​ ัดเ​รียงม​ อน​ อเ​มอ​ รต์​ ่อก​ ันเ​ป็นส​ าย​
โซ่ท​ ี่มา​กกว​ ่า 1 สายโ​ซ่ โดย​มีส​ ายโ​ซ่ห​ ลัก และส​ าย​โซ่​กิ่ง สาย​โซ่​กิ่งอ​ าจส​ ั้น​หรือ​ยาวก​ ็ได้ โครงสร้าง​แบบ​นี้​สามารถพ​ บท​ ั้ง​
พอล​ ิ​เมอ​ ร์เ​ดี่ยว​และ​พอ​ลิเ​ม​อร์​ร่วม

	 A-A-A-A-A	 ← สาย​โซ่​กิ่ง
	 -A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A- 	 ← สาย​โซ่​หลัก
	 	 A-A-A-A-A 	 	 ← สายโ​ซ่​กิ่ง

          ภาพท​ ่ี 7.4 ตัวอยา่ ง​โครงสร้าง​พอ​ล​เิ มอ​ ร​แ์ บบ​กงิ่ ก​ ้านส​ าขา

            2.4.3 	 ลักษณะ​โครงสร้าง​แบบ​ร่างแห โครงสร้าง​แบบ​นี้​เป็นการ​จัด​เรียง​มอ​นอ​เม​อร์​ต่อ​กัน​เป็น​สาย​โซ่​
ที่มาก​ กว​ ่า 1 สายโ​ซ่ โดยม​ ี​สาย​โซ่ห​ ลัก​หลาย​สาย และ​สายโ​ซ่​เชื่อมข​ วางจ​ นเ​ป็นร​ ่างแห โครงสร้างแ​ บบน​ ี้​สามารถ​พบ​ทั้ง​
พอ​ลิ​เมอ​ ร์เ​ดี่ยวแ​ ละพ​ อล​ ิเ​มอ​ ร์​ร่วม

	         -A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-    	 ← สายโ​ซ่ห​ ลัก
	
	         A	  ← สายโ​ซ่เ​ชื่อมข​ วาง
	         A

       	  -A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A- 	 ← สายโ​ซ่​หลัก	 	                 	

          ภาพท​ ่ี 7.5 ตวั อย่างโ​ครงสรา้ ง​พอล​ ​เิ ม​อรแ​์ บบร​ ่างแห

       2.5 	พอลิเมอร์​จำ�แนก​ตาม​การ​เปลี่ยนแปลง​เมื่อ​ได้​รับ​ความ​ร้อน   สามารถ​แบ่ง​ได้​เป็น 2 ประเภท คือ
เท​อร์​โม​พลาสติก (thermoplastic) และเ​ทอ​ ร์​โม​เซต (thermoset)

            2.5.1 	 พอลิเมอร์​ชนิด​เท​อร์​โม​พลาสติก คือ พอลิเมอร์​ที่​สามารถ​เปลี่ยนแปลง​รูป​ร่าง​ได้​เมื่อได้รับ​
ความ​ร้อน และ​เมื่อ​ขึ้น​รูป​แล้ว สามารถ​นำ�​กลับ​มา​หลอม​ขึ้น​รูป​ใช้​ใหม่​ได้ พอลิเมอร์​ที่​จัด​อยู่​ใน​กลุ่ม​นี้​มี​โครงสร้าง
โมเลกุล​ยาว​ด้วย​คาร์บอน​อิ่ม​ตัว​พันธะ​เดี่ยว —C—C— ดัง​นั้น​โครงสร้าง​พอ​ลิ​เม​อร์​ที่​พบ​ใน​กลุ่ม​เท​อร์​โม​พลาสติก​
มี​โครงสร้างเ​ป็นส​ ายโ​ซ่ (chain) และก​ ิ่งก​ ้าน​สาขา (branch) เช่น พอล​ ิ​เอทิลีน​ พอล​ ิส​ ​ไตร​ ีน พอล​ ิ​พรอพิล​ ีน เป็นต้น

            2.5.2 	 พอลิเมอร์​ชนิด​เท​อร์​โม​เซต คือ พอลิเมอร์​ที่​ไม่​สามารถ​นำ�​กลับ​มา​หลอม​ใช้​ซํ้า​ให้​อยู่​ใน​รูป​เดิม​
ได้เ​หมือนเ​ทอ​ ร์​โม​พลาสติก พอลิเมอร์​ที่​จัดอ​ ยู่​ใน​กลุ่ม​นี้ม​ ีค​ าร์บอน​ไม่อ​ ิ่มต​ ัวพ​ ันธะ​คู่ —C—C— อยู่ใ​น​โครงสร้างโ​มเลกุล
ดัง​นั้น​ส่วน​ใหญ่​พอลิเมอร์​ที่​พบ​มี​โครงสร้าง​โมเลกุล​เป็น​ร่างแห เมื่อ​แข็ง​ตัว​แล้ว ไม่​สามารถ​เปลี่ยนแปลง​รูป​ร่าง​ได้​อีก
เช่น เรซินอ​ ี​พอก​ซี (epoxy resin) เมล​ าน​ ีน พอ​ลิเ​อสเ​ทอ​ ร์ เป็นต้น

       จาก​ทก​ี่ ลา่ วไ​ปแ​ ลว้ ข​ า้ งต​ น้ จะเ​หน็ ​ไดว​้ า่ พอล​ เ​ิ มอ​ รป​์ ระกอบ​ดว้ ย​มอน​ อเ​มอ​ รม​์ าต​ อ่ ก​ นั ไ​ดห​้ ลากห​ ลาย มอ​นอเ​มอ​ ร​์ 
แต่ละ​ชนิดท​ ำ�ให้เ​กิดเ​ป็น​พอ​ลิ​เมอ​ ร์ต​ ามช​ นิด​ของ​มอ​นอ​เมอ​ ร์ท​ ี่ใ​ช้​นั้น โดยน​ ิยมใ​ช้ต​ ัว​ย่อ P แทน​คำ�​ว่า Poly ซึ่ง​หมาย​ถึง
พอ​ลิ​เมอ​ ร์ (polymer) เป็นต​ ัวเ​ริ่มต​ ้น​แล้วต​ าม​ด้วยช​ ื่อ​ของม​ อน​ อ​เม​อร์ท​ ี่ใ​ช้ เช่น PE ย่อ​มา​จาก Polyethylene โดย P
แทน Poly ส่วน E แทน ethylene ซึ่งเ​ป็น​มอ​นอเ​มอ​ ร์ท​ ี่ใ​ช้ ดังต​ าราง​ที่ 7.1
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26