Page 20 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 20

7-8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์

            2.2.2 	พอลิเมอร์​แบบ​เติม (addition polymer) เป็น​พอลิเมอร์​ท่ี​เกิด​จาก​ปฏิกิริยา​การ​เติม
(addition reaction) หรือ​ปฏิกิริยา​ลูกโซ่ (chain reaction) ของ​มอ​นอเ​ม​อร์​ที่ม​ ี​พันธะ​คู่​ใน​โมเลกุล หลัง​จาก​ปฏิกิริยา​
การ​เกิด​พอ​ลิ​เม​อร์​แล้ว มอ​นอ​เม​อร์​ทั้งหมด​ถูก​เปลี่ยน​เป็น​พอลิเมอร์ ปฏิกิริยา​การ​เกิด​พอลิเมอร์​แบบ​เติม​นี้​ไม่มี​
การส​ ูญเ​สีย​โมเลกุลข​ นาด​เล็กใ​นร​ ะหว่าง​การ​เกิด​พอล​ ิ​เมอ​ ร์ซ​ ึ่งแ​ ตก​ต่าง​กับป​ ฏิกิริยาก​ ารเ​กิด​พอลิเมอร์​แบบ​ควบแน่น

       2.3 	พอลิเมอร์​จำ�แนก​ตามต​ ามช​ นิด​ของ​มอน​ อเ​มอ​ ร์​ที่​ใช้​ใน​การเต​รี​ยมพ​ อลิเมอร์ มี 2 ประเภท คือ
            2.3.1 	พอลิเมอร์​เด่ียว (homopolymer) คือ พอลิเมอร์​ที่​เตรียม​จาก​การ​ใช้​มอ​นอ​เม​อร์​ชนิด​เดียว​ใน​การ​

ทำ�​ปฏิกิริยา ตัวอย่าง​พอลิเมอร์​เดี่ยว เช่น พอล​ ิเ​อทิลีน​ พอล​ ิโ​พร​ พิ​ลีน พอ​ลิ​สไ​ตร​ ีน (polystyrene, PS) เป็นต้น
            2.3.2 	พอลิเมอร์​ร่วม (copolymer) คือ พอลิเมอร์​ที่​เตรียม​จาก​มอ​นอ​เม​อร์​ตั้งแต่ 2 ชนิด​ขึ้น​ไป เช่น

พอล​ ิ​เมอ​ ร์​ร่วมเ​อทิลี​น​ไวน​ ิลแ​ อ​ซิ​เทด (ethylene vinyl acetate, EVA) พอล​ ิเ​ม​อร์​ร่วมส​ ​ไต​รีน​ บิ​วทะ​ได​อีน (styrene
butadiene copolymer, SBR) เป็นต้น

	 -A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A-A- 	                   -A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-
	 พอล​ ิ​เมอ​ ร์เ​ดี่ยว  	                                 พอลิเมอร์ร​ ่วม

            ภาพท​ ่ี 7.2 โครงสร้างข​ อง​พอลเิ มอร์​ตาม​ชนดิ ข​ อง​มอ​นอ​เม​อร์ โดย A แทนม​ อ​นอ​เม​อร​ช์ นิด​ท่ี 1
	 และ B แทน​มอน​ อเ​มอ​ ร​ช์ นดิ ​ท่ี 2

       2.4 	พอลิเมอร์​จำ�แนก​ตาม​ตาม​ลักษณะ​โครงสร้าง​โมเลกุล​ของ​พอลิเมอร์ โครงสร้างพ​ อ​ลิ​เม​อร์​ที่​พบ​สามารถ​
แบ่งไ​ด้การ​จัด​เรียง​ตัวข​ องม​ อ​นอเ​มอ​ ร์ใ​นพ​ อล​ ิเ​ม​อร์เ​ป็น 3 แบบ ได้แก่ แบบ​สาย​โซ่ (chain) แบบก​ ิ่งก​ ้านส​ าขา (branch)
และแ​ บบร​ ่างแห (network)

            2.4.1 	ลกั ษณะโ​ครงสรา้ งแ​ บบส​ ายโ​ซ่ โครงสร้างแ​ บบน​ ีเ้​ป็นการจ​ ัดเ​รียงม​ อน​ อเ​มอ​ ร์ต​ ่อก​ ันเ​ป็นส​ ายโ​ซย่​ าว​
เรียงต​ ่อ​กัน​ไป ถ้า​เป็นพ​ อล​ ิ​เมอ​ ร์เ​ดี่ยว เช่น มอ​นอ​เมอ​ ร์ A ต่อก​ ัน​ไปเ​รื่อยๆ เป็น​ขนาดโ​ซ่ย​ าว​ตาม​ที่​ต้องการ แต่​ถ้าเ​ป็น​
พอล​ ิ​เม​อร์​ร่วม มีก​ ารใ​ช้​มอ​นอเ​ม​อร์ 2 ชนิด​ใน​การท​ ำ�​ปฏิกิริยา การต​ ่อ​กัน​ของ​มอ​นอเ​ม​อร์ 2 ชนิดแ​ บบ​สาย​โซ่ส​ ามารถ​
ต่อก​ ันไ​ด้ห​ ลาย​แบบ ได้แก่ แบบ​สลับ แบบบ​ ล็อก และ​แบบส​ ุ่ม

                1) 	โครงสร้างส​ ายโ​ซแ่​ บบส​ ลับ เป็นการต​ ่อก​ ันข​ องม​ อน​ อเ​มอ​ ร์ช​ นิดท​ ี่ 1 และช​ นิดท​ ี่ 2 เรียงส​ ลับก​ ัน​
ไปม​ า

                2)	โครงสร้างส​ ายโ​ซ่แ​ บบบ​ ล็อก เป็นการต​ ่อก​ ันข​ องม​ อน​ อเ​มอ​ ร์ช​ นิดท​ ี่ 1 และช​ นิดท​ ี่ 2 เรียงต​ ่อก​ ัน​
โดยม​ ี​สาย​โซ่​พอ​ลิ​เมอ​ ร์ช​ นิด​ที่ 1 แล้ว​ต่อก​ ับส​ ายโ​ซ่พ​ อ​ลิ​เมอ​ ร์​ชนิด​ที่ 2

                 3) 	โครงสร้างส​ าย​โซ่​แบบ​สุ่ม เป็นการต​ ่อ​กัน​ของ​มอ​นอ​เม​อร์​ชนิด​ที่ 1 และช​ นิดท​ ี่ 2 เรียง​ต่อ​กัน​
โดยไ​ม่มี​รูปแ​ บบก​ าร​เรียง​ต่อ​กัน​ที่​แน่นอน

	 -A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-A-B-	 แบบส​ ลับ
	 -A-A-A-A-A-A-A-A-B-B-B-B-B-B-B-B-	 แบบบ​ ล็อก
	 -A-B-A-A-A-B-A-B-A-A-B-B-A-B-A-B-	 แบบส​ ุ่ม

              ภาพท​ ี่ 7.3 ตวั อยา่ งโ​ครงสรา้ ง​ของพ​ อลเิ มอร​ร์ ่วม​แบบส​ าย​โซท​่ ี่​ม​ีการต​ อ่ ​แบบ​ตา่ งๆ โดย A
	 แทนม​ อ​นอ​เมอ​ ร์ช​ นิด​ท่ี 1 และ B แทน​มอ​นอเ​มอ​ ร​ช์ นิดท​ ่ี 2
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25