Page 23 - วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
P. 23

พอลิเมอร์ 7-11
   3. 	ประเภท​ของ​พอลเิ มอร​ห์ มายเลข 1 คอื พอลเิ มอร์​เดย่ี ว​แบบส​ าย​โซ่
   	 ประเภทข​ องพ​ อลิเมอรห​์ มายเลข 2 คือ พอลเิ มอร์​ร่วม​แบบส​ ายโ​ซ​่แบบส​ ลับ
   	 ประเภท​ของพ​ อลิเมอรห​์ มายเลข 3 คอื พอลิเมอร​์เดี่ยว​แบบส​ าย​โซแ​่ บบ​กงิ่ ก​ า้ น​สาขา
   	 ประเภทข​ อง​พอลเิ มอรห​์ มายเลข 4 คอื พอลิเมอร์​เด่ยี ว​แบบ​รา่ งแห

เร่ืองที่ 7.1.2
ปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอร์

       ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ (polymerization reaction) คือ ปฏิกิริยาการรวมตัวกันของมอนอเมอร์เกิด
เปน็ พอลิเมอร์ ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จำ�แนกได้เป็น 2 ประเภทตามลักษณะการเกิดปฏิกิริยา คือปฏิกิริยาการเกิด
พอลเิ มอรแ์ บบปฏกิ ริ ยิ าการควบแนน่ (condensation polymerization) หรอื ปฏกิ ริ ยิ าแบบขัน้ (step growth polyme-
rization) และปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบปฏิกิริยาการเติม (addition polymerization) หรือแบบปฏิกริยาลูกโซ่
(chain polymerization)

1. 	ปฏิกริ ยิ าการเกดิ พอลิเมอรแ์ บบปฏิกิริยาการควบแน่น
ปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์แบบปฏิกิริยาการควบแน่นหรือแบบขั้น เป็นปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์จาก

สารมอนอเมอร์ 2 ชนิดที่มีหมู่ฟังก์ชันต่างกัน โดยหมู่ฟังก์ชันเหล่านี้เกิดปฏิกิริยากัน และอาจมีการสูญเสียโมเลกุล

ขนาดเล็ก อาทิ นํ้า ซึ่งถ้ามีการกำ�จัดนํ้าออกจากระบบ ปฏิกิริยาจะเกิดไปข้างหน้าอย่างเดียว ตัวอย่างเช่น ปฏิกิริยา

การเกิดพอลิเอสเทอร์ ดังแสดงในสมการ (7.2) นอกจากนี้ยังรวมถึงปฏิกิริยาการเกิดพอลิยูเทน (polyurethane)

ซึ่งเป็นปฏิกิริยาการควบแน่นที่ไม่มีการสูญเสียโมเลกุล ดังสมการ (7.4) เมื่อ R และ R′ แทนหมู่แอลคิล (alkyl)

ปฏกิ ริ ยิ าการเกดิ พอลเิ มอรแ์ บบควบแนน่ สามารถใชเ้ ตรยี มพอลเิ มอรท์ ีเ่ ปน็ สายโซ่ พอลเิ มอรท์ ีเ่ ปน็ กิง่ กา้ นสาขา

และพอลเิ มอรท์ ม่ี โี ครงสรา้ งรา่ งแหสามมติ ไิ ด้ โดยการเลอื กใชม้ อนอเมอรท์ มี่ หี มฟู่ งั กช์ นั 2 หมู่ (difunctional monomer)

และมอนอเมอร์ที่มีหมู่ฟังก์ชันมากกว่า 2 หมู่ (polyfunctional monomer) ตามลำ�ดับ

ปฏิกิริยา​การ​เกิดพ​ อ​ลิ​เมอ​ ร์​แบบ​ควบแน่น​มีก​ ลไก​การ​เกิด​ปฏิกิริยา (reaction mechanism) ดังนี้ ช่วง​แรก​

ของ​การเ​กิด​ปฏิกิริยา มอ​นอ​เม​อร์ 2 ชนิดท​ ำ�​ปฏิกิริยาก​ ัน เกิดเ​ป็น​ได​เม​อร์ (dimer) ซึ่งม​ ี​หมู่​ฟังก์ชันท​ ี่​แตก​ต่าง​กัน 2 หมู่

ตัวอย่าง​เช่น มอน​ อ​เม​อร์​ชนิด​ที่ 1 มี​หมู่ฟ​ ังก์ชัน A จำ�นวน 2 หมู่ ทำ�​ปฏิกิริยา​กับ​มอ​นอเ​มอ​ ร์​ชนิดท​ ี่ 2 ซึ่งม​ ีห​ มู่ฟ​ ังก์ชัน B

จำ�นวน 2 หมู่ เกิดเ​ป็น​ไดเ​มอ​ ร์​ที่​มี​หมู่ฟ​ ังก์ชัน A และ B ดัง​สมการ (7.3)

	

A—R—A 	 +	 B—R′—B  	                  	 A—R—AB—R′—B + H2O	 	                      .........(7.3)

มอ​นอเ​มอ​ ร์ 	 	 มอ​นอเ​ม​อร์ 	 	  ได​เม​อร์ 	 นํ้า

	 ชนิดท​ ี่ 1 	 	 ชนิด​ที่ 2
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28