Page 14 - โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
P. 14

2-4 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี

ตอนท​ ่ี 2.1
การ​เตบิ โตข​ อง​ฟังกช์ นั

โปรดอ​ ่าน​หัวเ​รื่อง แนวคิด และว​ ัตถุประสงค์​ของ​ตอน​ที่ 2.1 แล้ว​จึง​ศึกษาร​ าย​ละเอียด​ต่อไ​ป

  หัว​เรื่อง

         2.1.1 	ความห​ มายข​ อง​ บิ๊กโ​อ บิ๊กโ​อเ​มก​ า และ​บ๊ิก​ที​ตา
         2.1.2 	การเ​ติบโตข​ องก​ าร​รวม​กันข​ อง​ฟังก์ชัน
         2.1.3 	การ​เปรียบเ​ทียบ​การเ​ติบโต​ของฟ​ ังก์ชัน

  แนวคิด

         1. 	 ประสทิ ธภิ าพ​ของ​ขนั้ ​ตอน​วธิ ​สี ามารถ​วดั ​ได​จ้ าก​การ​หา​อตั รา​การ​เตบิ โต​ของ​ฟงั กช์ นั ​เวลา​ท​ใ่ี ช​ป้ ระมวลผล​ 
            ข้อมูล ขอบเขต​การ​เติบโต​ของ​ฟังก์ชัน​สามารถ​อธิบาย​ได้​ด้วย​สัญลักษณ์​บิ๊ก​โอ บิ๊ก​โอ​เม​กา​และ​
            บ๊ิก​ที​ตา โดย​บิ๊ก​โอ​ใช้​อธิบาย​ขอบเขต​บน บ๊ิก​โอ​เม​กา​ใช้​อธิบาย​ขอบเขต​ล่าง ​และ​บ๊ิก​ที​ตา​ใช้​อธิบาย​
            ทั้ง​ขอบเขต​บน​และ​ล่าง​ของ​การเ​ติบโต​ของ​ฟังก์ชัน

         2. 	 การ​หา​การ​เติบโต​ของ​ฟังก์ชัน​ด้วย​บ๊ิก​โอ​ของ​ฟังก์ชัน​ท่ี​เกิด​จาก​การ​รวม​กัน​ของ​ฟังก์ชัน​ต้ังแต่ 2
            ฟังก์ชัน ขึ้น​ไป ท�ำได้​โดย​การ​แยก​หา​บ๊ิก​โอ​ของ​แต่ละ​ฟังก์ชัน​ก่อน แล้ว​น�ำบ​ ๊ิก​โอ​ที่​ได้​มา​พิจารณา
            ​ร่วมกัน ซึ่งอ​ าจเ​ป็นไ​ด้ท​ ั้งก​ ารบ​ วกฟ​ ังก์ชันท​ ้ังส​ องเ​ข้าด​ ้วยก​ ัน หรือก​ ารค​ ูณฟ​ ังก์ชันท​ ้ังส​ องเ​ข้าด​ ้วยกัน​

         3. 	 ก าร​เปรียบ​เทียบ​การ​เติบโต​ของ​ฟังก์ชัน สามารถ​ท�ำได้​โดย​การ​หา​ค่า​ลิ​มิต แต่​การ​ประมาณ​ฟังก์ชัน​
            ด้วย​บิ๊ก​โอ​ก่อน​แล้ว​เปรียบ​เทียบ​จะ​ท�ำได้​รวดเร็ว​และ​ง่าย​กว่า อีก​ทั้ง​ยัง​สอดคล้อง​กับ​การ​พิจารณา​
            ประสิทธิภาพ​ของข​ ้ันต​ อนว​ ิธี

  วัตถุประสงค์

         เม่ือศ​ ึกษา​ตอนท​ ่ี 2.1 จบแ​ ล้ว นักศึกษาส​ ามารถ
         1.	 ค�ำนวณห​ าบ​ ิ๊ก​โอ​ของ​ฟังก์ชันท​ ี่​ก�ำหนด​ให้​ได้
         2.	 ค�ำนวณห​ า​บ๊ิก​โอข​ อง​ฟังก์ชันท​ ี่เ​กิด​จาก​การ​รวมก​ ันข​ องห​ ลายฟ​ ังก์ชันไ​ด้
         3.	 บอกค​ วาม​แตกต​ ่าง​ขอ​งบิ๊กโ​อ บ๊ิกโ​อเ​ม​กา และบ​ ๊ิก​ทีต​ าไ​ด้
         4.	 เปรียบเ​ทียบก​ าร​เติบโต​ของ​ฟังก์ชัน​ได้
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19