Page 18 - โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
P. 18

2-8 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี

          8 6x2 x2 + 4x + 1

          6 x2
          4

          2

          0
            	0.0 	 0.5 	 1.0 	 1.5 	 2.0 	 2.5 	 3.0

               ภาพท​ ี่ 2.2 ฟงั กช์ นั x2 + 4x + 1 เป็น O(x2)

       ในค​ วามส​ ัมพันธ์ f(x) = O(x2) น้ัน สามารถแ​ ทนที่ x2 ด้วยฟ​ ังก์ชันใ​ดๆ ท่ีม​ ี​อัตราก​ ารเ​ติบโตม​ ากกว่าห​ รือเ​ท่ากับ
x2 ได้ เช่น f(x) = O(x3) หรือ f(x) = O(x2 + x + 7) เป็นต้น ดังน​ ้ัน การจ​ ะป​ ระมาณว​ ่า​ฟังก์ชัน​หน่ึงๆ เป็นบ​ ิ๊ก​โอ ให้เ​ลือก​
บก๊ิ ​โอ​ทป​่ี ระมาณไ​ด​ใ้ กลเ​้ คยี งก​ บั ​ฟงั กช์ นั น​ น้ั ​มาก​ทส่ี ดุ คอื เปน็ ​ฟงั กช์ นั ท​ อ​่ี ธบิ ายข​ อบเขตบ​ น​ทเ​่ี ลก็ ​ทส่ี ดุ ข​ องอ​ ตั ราก​ าร​เตบิ โต​
ของ ​ฟั ง ก์ชัน ​น้ั น ​น่ันเ อง ใ น ​ท่ี ​น้ี f ( x) = x2 + 4x + 1 ป ระมาณ​การ ​เติบโ ต​ไ ด้ ​เป็ น f( x ) = O( x2 )
เป็นค�ำต​ อบ​ท่ีเ​หมาะ​สม​ท่ีสุด

       สังเกต​ว่า x2 = O(x2 + 4x + 1) ได้​ด้วย เนื่องจาก เม่ือ x > 1 จะ​ได้ x2 < x2 + 4x + 1 แล้ว​จะ​ได้ c = 1
ดังน​ ั้น c = 1 และ x = 1 เป็นต​ ัวยืน​ยันค​ วามส​ ัมพันธ์ x2 = O(x2 + 4x + 1) น้ีน​ ่ันเอง ดังน​ ั้น ในต​ ัวอย่างท​ ่ี 2.1 นี้ ฟังก์ชัน
f(x) = x2 + 4x + 1 และ g(x) = x2 สามารถ​แสดง​ได้​ว่า f(x) = O(g(x)) และ g(x) = O(f(x)) ด้วย กล่าว​ได้​ว่า f(x)
และ g(x) มีอ​ ัตราก​ ารเ​ติบโตเ​ป็นอ​ ันดับเ​ดียวกัน

ตวั อยา่ ง​ท่ี 2.2 จงแ​ สดงว​ ่า 3x2 เป็น O(x3)
วิธี​ท�ำ
          สังเกตว​ ่า เมื่อ x > 3 จะ​ได้​ว่า
          	 3x2 < x3 (มาจ​ ากก​ ารค​ ูณท​ ้ัง​สองข​ ้าง​ของส​ มการ x > 3 ด้วย x2)
          ดังน​ ั้น c = 1 และ x0 = 3 เป็นต​ ัวยืน​ยันส​ �ำหรับ​ความ​สัมพันธ์ 3x2        = O(x3)
          จากต​ ัวอย่าง​นี้ อาจพ​ ิจารณาก​ รณีท​ ่ี x > 1 แทนไ​ด้​เช่นก​ ัน จะไ​ด้​ว่า  3x2 < 3x3
          ดังน​ ้ัน c = 3 และ x0 = 1 เป็นต​ ัวยืน​ยัน​อีกค​ ู่​หนึ่งส​ �ำหรับ​ความส​ ัมพันธ์ 3x2 = O(x3) ด้วย

หมายเหต:ุ  	ส มมติใ​ห้ f(x) = 3x2 จากต​ ัวอย่าง​ที่ 2.2 นี้ จะไ​ด้​ว่า f(x) = O(x3) ซึ่ง​หมายความ​ว่า f(x) มีอ​ ัตรา​การเ​ติบโต​ของ​
          ฟังก์ชันน​ ้อยก​ ว่า​หรือ​เท่ากับ x3 แต่​การ​ประม​ าณ​บิ๊ก​โอข​ อง f(x) ที่เ​หมาะส​ ม​ที่สุดค​ วรเ​ป็น f(x) = O(x2) เนื่องจาก
          O(x2) อธิบายข​ อบเขตบ​ น​ที่น​ ้อย​ที่สุด​ของ f(x) ได้​ดีก​ ว่า​นั่นเอง

       นอกจาก​บท​นิยาม​ขอ​งบ๊ิก​โอ​แล้ว ยัง​มี​บท​นิยาม​ที่น​ ่า​สนใจ​และ​เกี่ยวข้อง​กับ​ขอบเขต​จ�ำกัด​ของ​อัตรา​การ​เติบโต​
ของ​ฟังก์ชัน​ท่ี​ใช้​ใน​การ​ประเมิน​ประสิทธิภาพ​ของ​ขั้น​ตอน​วิธี​อีก ได้แก่ บท​นิ​ยาม​บ๊ิก​โอ​เม​กา​และ​บิ๊ก​ที​ตา ดัง​จะ​กล่าว​
ต่อ​ไป​น้ี
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23