Page 20 - โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
P. 20

2-10 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี

       บทน​ ิยาม​น้ีบ​ อก​ได้​ว่า อัตรา​การ​เติบโต​ของ f(x) มากกวา่ ห​ รอื เ​ทา่ กบั ​อัตรา​การ​เติบโต​ของ g(x) หรือ​เป็นการ​บอก​
ขอบเขต​ลา่ ง (lower bound) ของ​อัตราก​ ารเ​ติบโตข​ อง f(x) ภาพ​ที่ 2.3 ข. แสดงค​ วามส​ ัมพันธ์​โดยอ​ าศัยบ​ ๊ิก​โอเ​ม​กา​เพ่ือ​
บอก​ขอบเขตล​ ่าง​ของฟ​ ังก์ชัน f(x) เมื่อ x มี​ค่าม​ ากๆ จะไ​ด้ f(x) มี​ค่า​อยู่​เหนือ​กว่าห​ รือ​เท่ากับค​ ่า​ของ cg(x)

ตัวอย่าง​ที่ 2.3 จงแ​ สดง​ว่า 5x2 เป็น Ω(x)
วธิ ​ที �ำ

       สังเกตว​ ่า เมื่อ x > 1 จะไ​ด้​ว่า 5x2 > x
       ดัง​นั้น c = 1 และ x0 = 1 เป็นต​ ัวยืนย​ ันส​ �ำหรับค​ วามส​ ัมพันธ์ 5x2 = Ω(x)

3. 	บกิ๊ ​ทต​ี า

       การพ​ ิจารณา​หา​ท้ัง​ขอบเขต​บนแ​ ละ​ขอบเขตล​ ่างข​ องก​ าร​เติบโต​ของฟ​ ังก์ชัน สามารถอ​ ธิบาย​ได้ด​ ้วย​สัญลักษณ์​
บ๊ิก​ที​ตา (big teta) และส​ ามารถเ​ขียนเ​ป็น​บทน​ ิยามท​ าง​คณิตศาสตร์ไ​ด้ ดังน้ี

  บท​นิยาม 2.3 บิ๊กท​ ​ตี า (Ѳ)
          ฟังก์ชัน f(x) สามารถป​ ระมาณ​ขอบเขต​บนแ​ ละ​ล่างไ​ด้ด​ ้วยบ​ ิ๊ก​ทีต​ า​ของ g(x) เขียนแ​ ทนด​ ้วย
          f(x) = Ѳ(g(x)) ถ้า​มี​ค่า​คงตัว​บวก c1 ≥ 0 c2 ≥ 0 และ x0 ≥ 0 ที่​ทำ�ให้ c1|g(x)| ≤ |f(x)| ≤ c2|g(x)|

  เมื่อ x ≥ x0

       บทน​ ิยามน​ ี้บ​ อกไ​ด้​ว่า อัตรา​การเ​ติบโต​ของ f(x) เท่ากับ​หรอื ​อย​ู่ใน​ขอบเขต​ของอ​ ัตราก​ าร​เติบโตข​ อง g(x) โดย​มี​
ค่า​คงตัว​เป็น​ปัจจัย หรือ​เป็นการ​บอก​ขอบเขต​จ�ำกัด​ท้ัง​บน​และ​ล่าง​ของ f(x) ภาพ​ท่ี 2.3 ค. แสดง​ความ​สัมพันธ์​บ๊ิก​ที​ตา​
ของ​ฟังก์ชัน f(x) กับ g(x) ทุก​ค่า x ท่ี​มี​ค่า​มากกว่า x0 ค่า​ของ f(x) อยู่​เหนือ​หรือ​เท่ากับ c1g(x) และ​อยู่​ใต้​หรือ​เท่ากับ
c2g(x)

ข้อ​สังเกต สามารถก​ ล่าว​ได้ว​ ่า f(x) = Ѳ(g(x)) ก็ต​ ่อ​เมื่อ f(x) = O(g(x)) และ f(x) = Ω(g(x)) นั่นเอง

       ดัง​นั้น กล่าว​โดยส​ รุป​ได้​ว่า f(x) = O(g(x)) แสดงว​ ่า รับป​ ระกัน​ว่าฟ​ ังก์ชัน f(x) โตใ​น​อัตรา​ท่ีช​ ้า​กว่า g(x) ดัง​น้ัน
g(x) จึง​เป็นข​ อบเขต​บน​ของ f(x) หรืออ​ ีก​ใน​หนึ่ง​สามารถก​ ล่าว​ได้ว​ ่า g(x) = Ω(f(x)) ซ่ึงห​ มายความว​ ่า f(x) เป็น​ขอบเขต​
ล่างข​ อง g(x) น่ันเอง

       เช่น x3 โตเ​ร็ว​กว่า x2 ดังน​ ้ัน กล่าว​ได้​ว่า x2 = O(x3) หรือ x3 = Ω(x2) น่ันเอง

       ใน​ทาง​เทคนิค ถ้า​สมมติ​ว่า f(x) = 2x2 แล้ว f(x) = O(x4) f(x) = O(x3) หรือ f(x) = O(x2) ได้​ทุก​ตัว บิ๊ก​โอ​
ท่ี​ดี​ท่ีสุด​หรือ​เรียก​ว่า​เหมาะ​สม​ท่ีสุด คือ f(x) = O(x2) เน่ืองจาก​เป็นการ​ประมาณ​ท่ี​ใกล้​เคียง​ที่สุด และ​สามารถ​หา​การ​
ประมาณท​ ี่ด​ ีท​ ี่สุดแ​ ละเ​หมาะท​ ี่สุด​ใน​ท�ำนอง​เดียวกันก​ ับส​ ัญลักษณ์​อื่นๆ ได้

       สมมติ​ว่า f(x) = Ѳ(x2) จึง​ไม่ใช่​เพียง​การ​บอก​ขอบเขต แต่​ยัง​เป็นการ​บอก​การ​ประมาณ​ที่​ดี​ท่ีสุด (ที่​ใกล้​เคียง​
ที่สุด) เท่าท​ ่ี​จะ​เป็น​ไป​ได้​ให้​ด้วย
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25