Page 39 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 39

การ​จัด​เวลา​ซีพียูแ​ ละ​การ​ติดต​ าย 11-29

เวลา โพรเซสทอี่ ยใู่ น ready queue  ระยะเวลาเข้าใชซ้ พี ยี ูท่ีตอ้ งการ  โพรเซสท่เี ขา้ ใช้ซพี ียู
                                           (มิลลวิ ินาท)ี                       R
                    R                       9—5=4
                    S                       6—5=1
42 Q
                    T                   16 — 5 — 5 — 5 = 1
                                           13 — 5 = 8

       -	 เวลา 42 มิลลิ​วินาที โพรเซส T ถูก​ขัดจังหวะ​เพื่อใ​ห้​โพรเซส R เข้า​ใช้​ซีพียู
       -	 โพร​เซส​ที่​อยู่​ใน​คิว ณ เวลา​นี้​มี​ทั้งหมด 4 โพร​เซส​ โดย​โพรเซส R ต้องการ​ใช้​ซีพียู​อีก 4 มิลลิ​วินาที​
โพรเซส S และโ​พรเซส Q ต้องการเ​วลา​ใช้​ซีพียู​อีก 1 มิลลิว​ ินาที สำ�หรับ​โพรเซส T ต้องการเ​วลา​ใช้ซ​ ีพียูอ​ ีก 8 มิลลิ​วินาที
       -	 ระบบ​จะ​ให้​โพรเ​ซส​ต่าง ๆ เข้า​ใช้​ซีพียูเ​ป็น​ลำ�ดับ​ตามร​ ะยะเ​วลาท​ ี่ต​ ้องการ​ต่อ​เนื่อง​กัน​ไป จน​กระทั่งเ​วลา 56
มิลลิ​วินาที ส​ ิ้น​สุดก​ ารป​ ระมวล​ผล
       สรุป​คา่ เวลา​รอค​ อยและเวลาค​ รบ​รอบง​ าน ได้​ดังนี้

โพรเซส                เวลารอคอย (มิลลวิ ินาท)ี                   เวลาครบรอบงาน (มิลลวิ นิ าที)
  P                  (10 — 5) + (25 — 15) = 15                              27
  Q         (5 — 0) + (15 — 10) + (32 — 20) + (47 — 37)  = 32               48
  R                  (20 — 11) + (42 — 25) = 26
  S                  (27 — 17) + (46 — 32) = 24                        (46 — 11) = 35
  T                  (37 — 23) + (48 — 42) = 20                        (47 — 17) = 30
                 (15 + 32 + 26 + 24 + 20)/5 = 23.4                     (56 — 23) = 33
คา่ เฉลี่ย                                                     (27 + 48 + 35 + 30 + 33)/5 = 34.6

       จาก​ตัวอย่าง​ข้าง​ต้น​เห็น​ได้​ว่า ​ถ้า​การ​ประมวล​ผล​มี n โพร​เซ​ส​และ​ระ​ยะ​เวลา​ค​วอน​ตัม​เท่ากับ q หน่วย​เวลา​
พบ​ว่า​แต่​ละ​โพร​เซส​จะ​รอ​คอย​ไม่​เกิน (n — 1)*q หน่วย​เวลา​จึง​ได้​รับ​การ​ประมวล​ผล​ครั้ง​ต่อ​ไป ซึ่ง​ทำ�ให้​แต่​ละ​
​โพร​เซ​สมี​โอกาส​รอ​คอย​นาน​ใน​เวลา​เท่า ๆ กัน ใน​การ​กำ�หนด​ระ​ยะ​เวลา​ค​วอน​ตัม​ควร​มี​การ​กำ�หนด​ให้​เหมาะ​สม หาก​
กำ�หนด​ระยะ​เวลา​นาน​เกิน​ไป​จะ​ได้​ผล​ใกล้​เคียง​หรือ​เหมือน​กับ​วิธี​มา​ก่อน​ได้​ก่อน แต่​ถ้า​กำ�หนด​ระ​ยะ​เวลา​ค​วอน​ตัม​
​สั้น​เกิน​ไป​ทำ�ให้​การ​ประมวล​ผล​แต่​ละ​โพร​เซส​เสร็จ​ช้า​ลง ​เนื่องจาก​เสีย​เวลา​จาก​การ​เวียน​เทียน​เพื่อ​เข้า​ใช้​ซีพียู​ของ​
โพรเ​ซ​สหล​ ายร​ อบจ​ ึงป​ ระมวลผ​ ล​เสร็จ

       2.5		คิวห​ ลาย​ระดบั (multilevel queue scheduling) เป็น​วิธี​การ​ที่​แบ่ง ready queue ออก​เป็นห​ ลาย ๆ ระดับ​
ความส​ ำ�คัญเ​พื่อต​ อบ​สนอ​ งโ​พรเ​ซสท​ ี่​ต้องการเ​วลา​ตอบส​ นอง (response time) ที่​แตกต​ ่าง​กัน เมื่อ​โพร​เซสใ​หม่เ​ข้าม​ า​
ใน​ระบบ ระบบ​ปฏิบัติ​การ​จะ​กำ�หนด​ให้​โพร​เซ​สอ​ยู่​ใน ready queue ที่​เหมาะ​สม​ซึ่ง​ขึ้น​อยู่​กับ​คุณสมบัติ​ของ​โพร​เซ​ส​
นั้น ๆ การ​กำ�หนดค​ วามส​ ำ�คัญข​ องแ​ ต่ละ ready queue นั้นอ​ าจแ​ บ่ง​ได้​จากขนาด​ของห​ น่วยค​ วามจ​ ำ�​ที่​โพร​เซส​ต้องการ
(memory size) หรือความส​ ำ�คัญข​ อง​โพรเซส (priority) หรือประเภทข​ องโ​พรเซส เป็นต้น ใน​แต่ละ ready queue
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44