Page 41 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 41
การจัดเวลาซีพียูและก ารติดต าย 11-31
ความสำ�คัญส ูงสุด ready queue
โพรเซส ระบ บ
โพรเซสใ หม่ โพรเซส โต้ตอบ running
หรือ โพรเซส แ ก้ไขการโต้ตอบ
เหตุการณ์สมบูรณ์
โพรเซสป ระมวลผลกลุ่ม
โพรเซสนักศ ึกษา
ความส ำ�คัญต ่ำ�ส ุด
ภาพท ่ี 11.10 แสดงก ารจ ัดเวลาซีพยี วู ธิ ีควิ ห ลายระดบั
สำ�หรับวิธีคิวหลายระดับ นอกจากกำ�หนดความสำ�คัญของคิวแล้ว วิธีการนี้ยังสามารถกำ�หนดเวลา
ป ระมวลผล (Time slice) ให้ค ิวต ่าง ๆ เพื่อสลับหมุนเวียนประมวลผ ลได้ คิวเหล่านี้จะถูกก ำ�หนดเวลาประมวลผ ล
แตกต่างกัน เช่น คิวของโพรเซสโต้ตอบจะได้รับเวลาในการประมวลผลมากกว่าคิวของโพรเซสกลุ่ม เป็นต้น ดังนั้น
เมื่อค ิวใดใน ready queue ได้เข้าใช้ซ ีพียูเพื่อป ระมวลผ ลจ ะได้ร ับช ่วงร ะยะเวลาต ามท ี่ได้ก ำ�หนดเพื่อค ัดเลือกโพรเซส
ต่าง ๆ ภายในคิวของตนเพื่อประมวลผล อาจใช้วิธีมาก่อนได้ก่อนหรือเวียนเทียนเพื่อคัดเลือกโพรเซสจนกระทั่ง
ค รบก ำ�หนดเวลา ระบบจ ะส ลับใหค้ ิวอ ื่นท ีเ่หมาะส มเข้าใชซ้ ีพียแู ทนแ ละป ระมวลผ ลต ามช ่วงร ะยะเวลาต ามท ีไ่ดก้ ำ�หนด
ไว้ซ ึ่งช ่วงเวลาท ี่ก ำ�หนดข องแ ต่ละค ิวได้ร ับแ ตกต ่างก ัน วิธีก ารน ี้ง ่ายไม่ซ ับซ ้อนแ ต่ไม่ย ืดหยุ่น เนื่องจากก ารป ระมวลผ ล
ไม่ส ามารถเปลี่ยนย้ายระหว่างคิวได้
2.6 คิวหลายระดับย้อนกลับ (Multilevel feedback queue scheduling) เป็นวิธีการที่ยินยอมให้
โพรเซสส ามารถเปลี่ยนย ้ายร ะหว่างคิวได้ วิธีการน ี้จ ะแบ่ง ready queue ออกเป็นหลาย ๆ คิวต ามระยะเวลาก ารใช้
ซีพียู (CPU burst time) ของโพรเซส เช่น
ready queue 0 กำ�หนดร ะยะเวลาควอนต ัม เป็น 10 มิลลิวินาที
ready queue 1 กำ�หนดร ะยะเวลาควอนต ัม เป็น 20 มิลลิวินาที
ready queue 2 กำ�หนดว ิธีค ัดเลือกโพรเซสแบบม าก ่อนได้ก่อน