Page 40 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 40
11-30 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และร ะบบป ฏิบัติก าร
อาจใช้วิธีคัดเลือกโพรเซส แตกต ่างก ัน โดยใช้ว ิธีมาก ่อนได้ก ่อน (FCFS) หรือเวียนเทียน (RR) หรืองานส ั้นได้ทำ�ก่อน
(SJF) ขึ้นอ ยู่ก ับค วามเหมาะส ม และก ารค ัดเลือกว ่า ready queue ใดจ ะได้ร ับก ารป ระมวลผ ลก ่อนโดยท ั่วไปใช้ว ิธีก าร
จัดเวลาซีพียูต ามความสำ�คัญโดยว ิธีตัดตอน (preemptive priority scheduling) ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอยา่ งท ่ี 8 กำ�หนดให้ระบบค อมพิวเตอร์ห นึ่งจัดเวลาการใช้ซีพียูวิธีคิวห ลายระดับโดยแ บ่ง ready queue
ออกเป็น 5 คิว ดังแสดงในภาพที่ 11.10 ตามประเภทของโพรเซส และค วามสำ�คัญดังนี้
Ready queue ความส�ำ คัญ
โพรเซสระบบ (system process) 1
โพรเซสโต้ตอบ (interactive process) 2
โพรเซสแก้ไขการโต้ตอบ (interactive editing process) 3
โพรเซสประมวลผลกลุ่ม (batch processing) 4
โพรเซสนักศึกษา (student process) 5
วิธีการจัดเวลาซีพียูของระบบปฏิบัติการที่ใช้วิธีคิวหลายระดับนี้ โพรเซสต่าง ๆ มีความสำ�คัญแตกต่างกัน
ขึ้นอ ยู่ก ับป ระเภทของโพรเซส นั้น ๆ เมื่อโพรเซสเข้ามาในระบบ ระบบจะพิจารณาเพื่อแ ยกป ระเภทข องโพรเซสเพื่อน ำ�
โพรเซสนั้นไปเก็บไว้ในคิวที่เหมาะส มก ับประเภทของโพรเซส นั้น ๆ
การคัดเลือกโพรเซสเพื่อเข้าใช้ซีพียู ระบบจะทำ�การคัดเลือกโพรเซสที่อยู่ในคิวที่มีความสำ�คัญสูงสุด
ในข ณะน ั้นเพื่อเข้าใช้ซ ีพียู ดังน ั้น โพรเซส ระบ บจ ะถ ูกพ ิจารณาเลือกให้ป ระมวลผ ลก ่อนโพรเซสโต้ตอบ โพรเซส โต้ตอบ
จะถูกคัดเลือกให้ประมวลผลก่อนโพรเซสแก้ไขการโต้ตอบ โพรเซสแก้ไขการโต้ตอบถูกคัดเลือกให้ประมวลผลก่อน
โพรเซสประมวลผลกลุ่ม และโพรเซสประมวลผลกลุ่มจะถูกคัดเลือกให้ประมวลผลก่อนโพรเซสนักศึกษา สำ�หรับ
ตัวอย่างนี้โพรเซสนักศึกษาจะได้เข้าใช้ซีพียูก ็ต ่อเมื่อไม่มีโพรเซสท ี่ม ีค วามส ำ�คัญสูงกว่าเหลืออ ยู่ในค ิว
ในระหว่างประมวลผลโพรเซสหนึ่ง ถ้าหากมีโพรเซสใหม่เข้ามาในระบบและมีความสำ�คัญสูงกว่าระบบจะ
ทำ�การตัดตอนก ารใช้ซีพียูของโพรเซสนี้ท ันทีเพื่อให้โพรเซสที่มีความส ำ�คัญสูงก ว่าเข้าใช้ซีพียูแทน