Page 56 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 56

11-46 สถาปัตยกรรมค​ อมพิวเตอร์แ​ ละร​ ะบบป​ ฏิบัติก​ าร

จาก​ภาพท​ ี่ 11.21 สามารถ​คำ�นวณ​หา​เวลาร​ อค​ อยข​ อง​ อัล​กอร​ ิท​ ึมเ​วียน​เทียน ได้ด​ ังต​ าราง​ต่อ​ไป​นี้

โพรเซส             เวลารอคอยอัลกอริทึมเวียนเทยี น (มิลลวิ ินาท)ี
  P1                                0
  P2                                32
  P3                                20
  P4                                23
  P5
 เฉล่ีย                        (30 + 10) = 40
                       (0 + 32 + 20 + 23 + 40)/5 = 23

สรุปค​ ่าเ​ฉลี่ยเ​วลา​รอ​คอย​เฉลี่ย​ของ​ อัล​กอ​ริ​ทึม​ทั้งส​ ามว​ ิธี เป็น​ดังนี้

  อัลกอรทิ ึม                                            ค่าเฉลีย่ เวลารอคอย (มลิ ลวิ นิ าที)
มาก่อนได้ก่อน                                                       28
งานสั้นได้ทำ�ก่อน                                                   13
                                                                    23
  เวียนเทียน

       เห็น​ได้​ว่า​ ถ้า​ใช้​เกณฑ์​ตัดสิน​จาก​ค่า​เฉลี่ย​เวลา​รอ​คอยอัล​กอ​ริ​ทึม​งาน​สั้น​ได้​ทำ�​ก่อน​เป็น​อัล​กอ​ริ​ทึม​ที่​ดี​ที่สุด
เนื่องจาก​ว่า​มี​ค่า​เฉลี่ย​ของ​การ​รอ​คอย​ตํ่า​ที่สุด การ​ประ​เมิน​อัล​กอ​ริ​ทึม​โดย​วิธี​กำ�หนด​โมเดล​เป็น​วิธี​ที่​ง่าย​และ​รวดเร็ว
ได้​ผลลัพธ์​เป็น​ตัวเลข​ที่​สามารถ​นำ�​มา​เปรียบ​เทียบ​ได้​อย่าง​เด่น​ชัด​เหมาะ​สำ�หรับ​ระบบ​ที่​ไม่​ซับ​ซ้อน​มาก​นัก แต่​ใน​ทาง​
ปฏิบัติแ​ ล้วร​ ะบบค​ อมพิวเตอร์ป​ ัจจุบันม​ ีค​ วามซ​ ับซ​ ้อนม​ าก​  การนำ�ข​ ้อมูลใ​นท​ ี่น​ ี้ คือ เวลาท​ ี่เ​ข้าใ​ช้ซ​ ีพียูข​ องแ​ ต่ล​ ะโ​พรเ​ซส​ ​
มา​คำ�นวณ​นั้น​อาจ​ไม่​เพียง​พอ เนื่องจาก​เป็น​ค่าที่​ได้​จาก​การ​ประมาณ​การ​ซึ่ง​มี​ความคลาด​เคลื่อน​สูง​ทำ�ให้​ไม่มี​ความ-​
น​ ่าเ​ชื่อถ​ ือไ​ม่ส​ ามารถใ​ชเ้​ป็นต​ ัวแทนข​ องเ​หตุการณ์ท​ ี่แทจ้​ ริงไ​ด้ วิธีน​ ี้ง​ ่ายต​ ่อก​ ารต​ ัดสินใ​จแ​ ตม่​ ขี​ ้อจ​ ำ�กัดม​ ากเ​กินไ​ปส​ ำ�หรับ​
การนำ�​มาใ​ช้​ในป​ ัจจุบัน​และ​ไม่เ​หมาะท​ ี่​จะใ​ช้​งานจ​ ริง

2. 	วธิ ีจ​ ัด​โมเดลข​ อง​คิว

       จากป​ ัญหาข​ องก​ ารป​ ระมาณก​ ารเ​วลาท​ ีเ่​ข้าใ​ชซ้​ ีพียขู​ องแ​ ต่ละโ​พรเซส ซึ่งม​ คี​ วามคลาดเ​คลื่อนส​ ูงท​ �ำ ใหข้​ าดค​ วาม​
​น่า​เชื่อ​ถือ​นั้น สามารถ​แก้ไข​ได้​โดย​วิธี​จัด​โมเดล​ของ​คิว (queueing model) ใช้​ค่า​เอ็ก​โปเน​นท์​เชีย​ล​ของ​การก​ระ​จาย​
เวลา​เข้า​ใช้​ซีพียู​และ​เวลา​ใน​การ​เข้า​ใช้​อุปกรณ์​อินพุต​หรือ​เอาต์พุต​ของ​โพร​เซส​ต่าง ๆ ใน​ระบบ นำ�​มา​หา​ค่า​เฉลี่ย​ของ​
เวลาร​ อค​ อย ซึ่งร​ ะบบส​ ามารถ​คำ�นวณค​ ่า​เอ็กโ​ปเน​นท์เ​ชียล​ นี้​ได้​จาก​อัตราก​ าร​ใช้อ​ ุปกรณ์​ต่าง ๆ ของ​โพร​เซส​ต่าง ๆ ใน
ready queue หรือ device queue
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61