Page 57 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 57

การจ​ ัด​เวลา​ซีพียู​และก​ ารต​ ิด​ตาย 11-47

       สำ�หรับข​ ่ายงานค​ อมพิวเตอร์ เครื่องใ​ห้บ​ ริการ (server) จะ​มี ready queue หรือ device queue ของต​ นเอง​
ทำ�ให้​ทราบ​ถึง​อัตรา​ของ​การ​มา​ถึง​ของ​โพรเซส (arrival rate) และ​อัตรา​การ​ให้​บริการ (service rate) ทำ�ให้​สามารถ​
คำ�นวณอรรถ​ประโยชน์​ของ​ซีพียู (CPU utilization) ค่า​เฉลี่ย​ความ​ยาว​ของ​คิว (average queue length) และ​
เวลา​รอ​คอยเ​ฉลี่ย (average waiting time) ได้เ​ป็นว​ ิธีก​ าร​ที่เ​รียก​ว่า การ​วิเคราะห์​ข่ายงานค​ ิว (queuing-network
analysis)

       วธิ ีก​ าร วิเคราะห์ข​ ่ายงานค​ ิว
       กำ�หนดใ​ห้ n เป็น ค่าเ​ฉลี่ย​ความย​ าว​ของค​ ิว (average queue length) ไม่​รวม​โพร​เซส​ที่​กำ�ลัง​ทำ�งานอ​ ยู่

            	 W เป็น เวลา​รอค​ อย​เฉลี่ย (average waiting time)
            	 λ เป็น อัตราเ​ฉลี่ยข​ อง​โพรเ​ซส​ใหม่​ที่มา​ถึง​คิว เช่น​เฉลี่ย 3 โพรเ​ซส​ต่อ​วินาที
       ถ้า​การ​ทำ�งาน​ใน​ข่ายงาน​อยู่​ใน​ภาวะ​ปกติ จำ�​นวน​โพร​เซส​ที่​ออก​จาก​แถว​คอย​ต้อง​มี​ค่า​เท่ากับ​จำ�​นวน​โพร​เซส​
ที่​เข้าม​ าถ​ ึง
       ดังน​ ั้น
            n=λ*W
       สมการท​ ี่​ได้​จากก​ ารว​ ิเคราะห์​ข่ายงานค​ ิว เรียกว​ ่า สูตรล​ ิตเ​ติ้ล (Little’s formula) ซึ่งม​ ี​ค่าเ​ป็น​จริงเ​สมอ

ตวั อย่างท​ ่ี 1 จง​หา​เวลาร​ อค​ อยเ​ฉลี่ย โดยก​ ารว​ ิเคราะห์​ข่ายงานค​ ิว
	 กำ�หนด ค่าเ​ฉลี่ยค​ วาม​ยาว​ของ​คิวเ​ท่ากับ 14 โพรเซส

	 อัตรา​เฉลี่ยข​ องโ​พร​เซสใ​หม่ท​ ี่มา​ถึง​คิว 7 โพร​เซสต​ ่อ​วินาที
วิธ​ีคิด
	 ในท​ ี่น​ ี้​กำ�หนด 	 n 	 = 	 14

		        λ 	 = 	 7

	 จาก​สูตร 	 n 	 = 	 λ * W

	 ดังน​ ั้น 	 W 	= 	 n / λ

	 แทนค​ ่า 		 = 	 14/7 = 2 วินาที

	 ดัง​นั้น การ​หา​เวลาร​ อ​คอยเ​ฉลี่ย = 2 วินาที

อย่างไร​ก็ตาม​วิธี​จัด​โมเดล​ของ​คิว มี​ข้อ​จำ�กัด​ใน​การ​หา​ค่า​การก​ระ​จาย​เวลา​เข้า​ใช้​ซีพียู​และ​เวลา​ใน​การ​เข้า​ใช้​

อุปกรณ์​อินพุต​หรือ​เอาต์พุต​ของ​โพร​เซส​ต่าง ๆ ใน​ระบบ โดย​ทั่วไป​กำ�หนด​โดย​การ​ประมาณ​ค่า ดัง​นั้น ผลลัพธ์​ที่​ได้​

จากก​ าร​วิเคราะห์จ​ ึง​เป็น​ค่าป​ ระมาณ​การ

3. 	วธิ ี​จำ�ลองส​ ถานการณ์

       วธิ จ​ี �ำ ลองส​ ถานการณ์ (simulation) เปน็ ว​ ธิ ก​ี ารจ​ �ำ ลองเ​หตกุ ารณโ​์ ดยเ​ขยี นโ​ปรแกรมเ​พือ่ ส​ รา้ งต​ วั แ​ บบข​ องร​ ะบบ​
คอมพวิ เตอรท์​ ปี​่ ระกอบด​ ว้ ยอ​ ุปกรณต​์ า่ ง ๆ ด้วยโ​ครงสรา้ งข​ อ้ มลู ท​ เี่​หมาะส​ ม อกี ท​ ัง้ ก​ ำ�หนดต​ ัวแปรใ​หเ​้ ก็บเ​หตุการณห์​ รอื ​
สถิติต​ ่าง ๆ ของร​ ะบบเ​สมือนเ​ป็น​เหตุการณ์​ที่​เกิด​ขึ้นจ​ ริง ข้อมูล​ของ​โพร​เซสต​ ่าง ๆ เช่น ช่วงเ​วลา​ประมวล​ผล เวลา​มาถ​ ึง​
เวลา​งาน​เสร็จ และ​อื่น ๆ ถูก​สร้าง​ขึ้น​เป็น​ตัวเลข​แบบ​สุ่ม​โดย​ใช้​ความ​น่า​จะ​เป็น​แบบ​คงที่ หรือแบบ​เอ็ก​โปเนน​เชีย​ล​
หรอื แบบป​ วั ซ​ อง หรอื อ​ ืน่ ๆ จากก​ ารค​ �ำ นวณโ​ดยโ​ปรแกรม แตผ​่ ลลพั ธท​์ ไี​่ ดจ​้ ากก​ ารใ​ชต​้ วั เลขแ​ บบส​ ุม่ เ​หลา่ น​ อี​้ าจไ​มถ​่ กู ต​ อ้ ง​
ม​ ากน​ ัก เนื่องจากข​ ้อมูลท​ ี่แท้จ​ ริงแ​ ตกต​ ่างจ​ ากข​ ้อมูลท​ ี่ไ​ด้จ​ ากก​ ารค​ ำ�นวณโ​ดยโ​ปรแกรม การแ​ ก้ไขน​ ั้นส​ ามารถก​ ระทำ�ไ​ด​้
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62