Page 58 - สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
P. 58
11-48 สถาปัตยกรรมค อมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
โดยน ำ�ข ้อมูลจ ากร ะบบจ ริงเก็บในเทปแ ม่เหล็กเพื่อต ิดตามก ารท ำ�งานจ ริงข องร ะบบโดยบ ันทึกล ำ�ดับเหตุการณ์จ ริงท ุก
อยา่ งไวใ้ นเทปแ มเ่ หลก็ แ ละน �ำ ม าเปน็ ข ้อมูลเข้า (input) เพื่อใหโ้ ปรแกรมท ีส่ ร้างข ึน้ ป ระมวลผ ล วธิ กี ารน ีส้ ามารถน �ำ ไปใช้
ในก ารป ระเมินอ ัลก อร ิท ึมได้ด ีเนื่องจากเน้นก ารใช้ง านในเหตุการณ์ท ี่เกิดข ึ้นจ ริง แต่ว ิธีก ารต ิดตามเทป (trace tape) นี้
ตอ้ งเสยี เนือ้ ทใี่ นก ารบ นั ทกึ ข อ้ มลู จ �ำ นวนม ากล งบ นเทปแ มเ่ หลก็ แ ละใชเ้ วลาข องร ะบบในก ารป ระมวลผ ลน าน นอกจากน ี้
การอ อกแบบแ ละเขียนโปรแกรมยังเสียเวลาม ากอีกด ้วย
parcotcueasls CCCIIIC///UOOOUUUP..PP..P121..11141127327023 simulation pefsortfrao t riFmsCtaiFcnSsce
execution trace tape FCFS pesfrtofaort ri msStaJicFnsce
simulation fopr e srRtfaRotrim(sQtaicn=sc1e4)
SJF
simulation
RR (Q = 14)
ภาพท ี่ 11.22 การป ระเมนิ อ ัลก อริทึมโดยวธิ ีจ�ำ ลองส ถานการณ์
จากภ าพท ี่ 11.22 เปน็ การป ระเมนิ อ ลั ก อร ทิ มึ โดยว ธิ จี ำ�ลองส ถานการณข์ องร ะบบห นึง่ ท มี่ กี ารบ นั ทกึ ก ารใชเ้ วลา
ซพี ยี แู ละเวลาก ารใชอ้ ปุ กรณอ์ นิ พตุ แ ละเอาตพ์ ตุ ข องโพรเซสต า่ ง ๆ ทปี่ ระมวลผ ลข ึน้ จ รงิ เกบ็ ไวใ้ นเทปแ มเ่ หลก็ ตอ่ จ ากน ัน้
ทำ�การติดตามเทปเพื่อนำ�ข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในระบบมาประเมินอัลกอริทึมโดยวิธีมาก่อนได้ก่อน
งานส ั้นได้ท ำ�ก ่อน และเวียนเทียน เพื่อห าว ิธีก ารที่เหมาะส มท ี่สุดต ามเป้าประสงค์หรือประสิทธิภาพที่ต ้องการ
4. วิธีสรา้ งร ะบบจรงิ
วิธีสร้างระบบจริง (implementation) วิธีนี้ไม่นิยมปฏิบัติ เพราะเป็นการลงทุนที่สูงมากต้องเสียค่าใช้จ่าย
ในการเขียนโปรแกรมสำ�หรับอัลกอริทึมแต่ละวิธีการที่ต้องการนำ�มาประเมิน อีกทั้งต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเปลี่ยน-
การทำ�งานของโปรแกรมระบบปฏิบัติการเพื่อให้สามารถรองรับอัลกอริทึมแบบต่าง ๆ ที่จะนำ�มาประเมิน ซึ่งแต่ละ
อัลกอริทึมต้องการฮาร์ดแวร์ที่แตกต่างกันออกไป และปัญหาที่สำ�คัญคือ ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ที่ไม่ยอมนำ�งานจริงมา
ประมวลผลก ับร ะบบค อมพิวเตอร์ที่ย ังอยู่ในขั้นท ดลอง
วิธีการป ระเมินอ ัลก อร ิท ึมส ำ�หรับการจัดเวลาซ ีพียูท ี่กล่าวมาน ี้ ผลลัพธ์ที่ได้จ ากก ารป ระเมินอ าจไม่น ่าเชื่อถ ือ
นักเนื่องจากว ่าง านห รือข ้อมูลต ่าง ๆ มีโอกาสเปลี่ยนแปลงได้ต ลอดเวลา อีกท ั้งผ ู้ใช้โปรแกรมก ็พ ยายามป รับปรุงข ้อมูล
ของตนให้เหมาะสมกับเป้าประสงค์ของระบบ ถ้าทราบว่าระบบมีการใช้งานอัลกอริทึมแบบงานสั้นได้ทำ�ก่อน ผู้ใช้
ระบบจะกำ�หนดเวลาเข้าใช้ซีพียูระยะสั้น ๆ เพื่อให้มีโอกาสเข้าใช้ซีพียูมากกว่าโปรแกรมของผู้อื่นซึ่งโดยแท้จริงแล้ว
โพรเซส อื่น ๆ ที่ร อคิวอ ยู่เป็นโพรเซสที่ม ีค วามส ำ�คัญมากกว่า