Page 46 - กฎหมายอาญา 1: ภาคบทบัญญัติทั่วไป
P. 46
46
แบบประเมินผลตนเองก่อนเรยี นหนว่ ยที่ 10
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความรู้เดิมของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง “เหตุลดโทษ”
คำ�แนะนำ� ขอให้นักศึกษาอ่านคำ�ถามแล้วเขียนวงกลมล้อมรอบข้อคำ�ตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. ท่านเข้าใจหลักที่ว่า “ความไม่รู้กฎหมายไม่เป็นข้อ ง. ให้ศาลลงโทษสองในสามของโทษที่กฎหมาย
แก้ตัว” ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 64 เช่นไร กำ�หนดไว้สำ�หรับความผิดนั้น
ก. ห้ามแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายทุกกรณี
ข. ห้ามแก้ตัวว่าไม่รู้บทบัญญัติกฎหมาย จ. ให้ศาลลงโทษหนึ่งในสามของโทษที่กฎหมาย
ค. ห้ามแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายสารบัญญัติเพื่อให้พ้น กำ�หนดไว้สำ�หรับความผิดนั้น
ความรับผิด
ง. ห้ามแก้ตัวว่าไม่รู้ว่ากฎหมายอาญาบัญญัติว่าการ 4. กรณีใดไม่ถือว่า เป็นการป้องกันเกินขอบเขต
กระทำ�เช่นนั้นเป็นความผิด ก. ผู้ตายถือมีดทำ�ครัวใบมีดยาวเพียง 4 นิ้ว กว้าง
จ. หา้ มแกต้ วั วา่ ไมร่ ูก้ ฎหมายแพง่ และพาณชิ ยเ์ พือ่ ให้ 1 นิ้ว เข้ามาจะทำ�ร้ายจำ�เลย จำ�เลยใช้อาวุธปืนยิง
พ้นความรับผิด ผู้ตายเพียงนัดเดียวถูกบริเวณไหล่ขวาบาดเจ็บ
ข. เด็กเข้าไปลักแตงโมในไร่ของจำ�เลย และจำ�เลย
2. นางมาลัยมีพี่ชาย 2 คน คือ นายกบ นายกุ้ง และมี ได้ต่อและปล่อยกระแสไฟฟ้าจากบ้านพักผ่านรั้ว
บุตรสาว 2 คน คือ นางสาวแก้ว นางสาวก้อย ต่อมา ลวดหนาม เป็นเหตุให้เด็กซึ่งสัมผัสรั้วลวดหนาม
นางมาลัยได้ร่วมกับลุงของตน คือ นายมานพลัก ถูกกระแสไฟฟ้าดูดจนถึงแก่ความตาย
สร้อยคอทองคำ�ของนางสาวแก้ว และนำ�ไปแบ่งให้กับ ค. ชาวบ้านไปขว้างปาบ้านบิดาจำ�เลย จำ�เลยจึงใช้
นายกบ นายกุ้ง และนางสาวก้อย ดังนี้ ผู้ใดจะได้รับ อาวุธปืนยิงทำ�ร้ายร่างกายผู้ที่ขว้างปาเพื่อป้องกัน
การลดโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 71 ทรัพย์สินของบิดาจำ�เลย
ก. นายกบ นายกุ้ง ง. ผตู้ ายบกุ รกุ เขา้ ไปในบา้ นของจ�ำ เลย และใชม้ ดี ตรง
ข. นายกบ นายกุ้ง นางสาวก้อย เข้าไปจะทำ�ร้ายจำ�เลย จำ�เลยจึงต่อสู้แย่งมีดมาได้
ค. นางมาลัย นางสาวก้อย และได้ใช้มีดแทงผู้ตายทันทีจนถึงแก่ความตาย
ง. นายมานพ นางมาลัย จ. ผู้ตายขอเงินจำ�เลยซึ่งเป็นภรรยาไปซื้อสุรา จำ�เลย
จ. นางมาลัย ไม่ให้ ผู้ตายจึงตรงเข้ากระชากผมและตบตีทำ�ร้าย
จำ�เลย จำ�เลยจึงใช้ปืนที่หัวนอนยิงผู้ตายเพื่อ
3. นราอายุ 17 ปี กระทำ�ความผิดอาญา หากศาลเห็น ป้องกัน ถูกบริเวณหน้าอกถึงแก่ความตาย
สมควรพิพากษาลงโทษ กฎหมายบัญญัติในเรื่องการ
พิจารณาลงโทษไว้เช่นไร 5. กรณีใดที่ศาลอาจใช้ดุลพินิจไม่ลงโทษผู้กระทำ�
ก. ให้ดุลพินิจศาลลดมาตราส่วนโทษที่กำ�หนดไว้ ก. ป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ
ส�ำ หรบั ความผดิ นัน้ ลงหนึง่ ในสามหรอื กึง่ หนึง่ กไ็ ด้ ข. จำ�เป็นเกินสมควรแก่เหตุ
ข. ให้ศาลลดมาตราส่วนโทษที่กำ�หนดไว้สำ�หรับ ค. กระทำ�เกินกว่ากรณีแห่งการจำ�ต้องกระทำ�เพื่อ
ความผิดนั้นลงกึ่งหนึ่ง ป้องกัน
ค. ให้ศาลลดมาตราส่วนโทษที่กำ�หนดไว้สำ�หรับ ง. กระทำ�เกินกว่ากรณีแห่งความจำ�เป็น
ความผิดนั้นลงหนึ่งในสาม จ. จำ�เป็นเกินขอบเขตเนื่องจากตกใจกลัว