Page 25 - เทคโนโลยีกระบวนการพิมพ์
P. 25

เทคโนโลยีการพิมพ์ออฟเซตไม่ใช้นํ้า 4-17

            2.1.1 	รางหมกึ ส�ำ หรบั ใสห่ มกึ พมิ พ์ (ink fountain induct) ลักษณะของรางหมึกของเครื่องพิมพ์ออฟเซต
แห้งไม่เหมือนกับเครื่องพิมพ์ออฟเซตลิโทกราฟีตรงที่มีใบมีดปาด (doctor blade) เพื่อให้สามารถปรับความหนาชั้น
หมึกพมิ พ์ตามปรมิ าณที่เพยี งพอและเท่ากนั ตลอดแนวโม โดยปรับระยะห่างจากลูกกลิ้งจา่ ยหมึกด้วยสกรู (metering
screws)

            2.1.2 	ลกู กลงิ้ จา่ ยหมกึ (inker roller) ลูกกลิ้งจ่ายหมึกที่ติดกับรางหมึก ทำ�หน้าที่หมุนจ่ายหมึกพิมพ์จาก
รางหมึกส่งให้ลูกกลิ้งรับส่งหมึก

            2.1.3 	ลูกกลิ้งรบั สง่ หมึก (ink transfer rubber roller) ลูกกลิ้งรับส่งหมึกเป็นลูกกลิ้งยางที่รับหมึกพิมพ์
จากลูกกลิ้งจ่ายหมึกด้วยการเคลื่อนที่ไปแตะสัมผัสเบาๆ ซึ่งการเคลื่อนแตะรับหมึกพิมพ์ไปมานี้สามารถปรับได้ตาม
ปริมาณหมึกพิมพ์ที่จะถ่ายโอนไปยังลูกกลิ้งเกลี่ยหมึก

            2.1.4 	ลูกกลิ้งเกล่ียหมึก (oscillating roller) ลูกกลิ้งเกลี่ยหมึกทำ�หน้าที่รับหมึกพิมพ์จากลูกกลิ้งจ่าย
หมึกด้วย

            2.1.5 	ลกู กล้ิงบดหมกึ (rider roller หรอื metering roller) ลูกกลิ้งบดหมึกเป็นลูกกลิ้งยางรับหมึกพิมพ์
จากลูกกลิ้งเกลี่ยหมึกและบดหมึก และส่งหมึกพิมพ์ไปยังลูกกลิ้งเกลี่ยหมึกลูกถัดไป เครื่องพิมพ์มักมีลูกกลิ้งเกลี่ย
หมึกและลูกกลิ้งบดหมึกจำ�นวนเท่าๆ กัน ในกรณีนี้มีลูกกลิ้งเกลี่ยหมึกและลูกกลิ้งบดหมึกอย่างละ 2 ลูก

            2.1.6 	ลูกกลิ้งคลึงแมพ่ มิ พ์ (form roller) ลูกกลิ้งคลึงแม่พิมพ์เป็นลูกกลิ้งยางรับหมึกจากลูกกลิ้งเกลี่ย
หมึกถ่ายทอดไปยังแม่พิมพ์ ส่วนใหญ่จะมีลูกกลิ้งคลึงแม่พิมพ์มากกว่าหนึ่งลูก ขึ้นกับขนาดของเครื่องพิมพ์

                           ภาพที่ 4.9 ชุดลูกกล้ิงหมึกของเคร่อื งพมิ พ์ออฟเซตแหง้
       ชดุ ลกู กลิง้ หมกึ มลี กู กลิง้ ผวิ โลหะสลบั กบั ลกู กลิง้ ผวิ ยางทีท่ �ำ หนา้ ทีเ่ กลีย่ และจา่ ยหมกึ ตอ่ เนือ่ งกนั เปน็ สายหมกึ
(ink train) ชั้นหมึกพิมพ์จะถ่ายโอนตั้งแต่ลูกกลิ้งลูกแรกจนถึงลูกกลิ้งลูกสุดท้ายที่คลึงแม่พิมพ์ ชั้นหมึกพิมพ์จะบาง
ลงเรื่อยจนได้ชั้นหมึกพิมพ์ที่มีความหนาประมาณ 1-4 ไมโครเมตรบนแม่พิมพ์
       2.2 	โมแมพ่ มิ พ์ มลี กั ษณะเปน็ โมสเตนเลสส�ำ หรบั ยดึ แผน่ แมพ่ มิ พอ์ อฟเซตแหง้ ใหต้ ดิ บนโมแมพ่ มิ พ์ แมพ่ มิ พ์
อาจทำ�เป็นแผ่นๆ แล้วนำ�ติดบนโมแม่พิมพ์ตามตำ�แหน่งที่ต้องการพิมพ์ แม่พิมพ์ที่ใช้เป็นแม่พิมพ์พอลิเมอร์เหมือน
กับแม่พิมพ์เลตเตอร์เพรสส์ ซึ่งมีทั้งชนิดที่ฐานเป็นพอลิเมอร์ ได้แก่ แม่พิมพ์ไนโลพรินต์ (nyloprint) ของ BASF
และฐานโลหะ ได้แก่แม่พิมพ์ไดคริล (Dycril) ของดูปองต์ (dupont) แม่พิมพ์ไนโลพรินต์ให้คุณภาพด้อยกว่า เหมาะ
สำ�หรับงานพิมพ์จำ�นวนไม่มาก ส่วนแม่พิมพ์ไดคริล ฐานแม่พิมพ์ทำ�จากอะลูมิเนียม สามารถทำ�แม่พิมพ์ในขณะที่โค้ง
รอบโมแม่พิมพ์ได้
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30