Page 29 - เทคโนโลยีกระบวนการพิมพ์
P. 29

เทคโนโลยีการพิมพ์ออฟเซตไม่ใช้นํ้า 4-21

               2.2 	ลกู กลงิ้ จา่ ยหมกึ ทต่ี ดิ กบั รางหมกึ ท�ำ หนา้ ทหี่ มนุ จา่ ยหมกึ พมิ พจ์ ากรางหมกึ สง่ ใหล้ กู กลงิ้ รบั
  ส่งหมกึ

               2.3 	ลกู กลิ้งรับส่งหมกึ ท่รี บั หมกึ พมิ พจ์ ากลกู กลงิ้ จ่ายหมกึ ไปยังลูกกลงิ้ เกลี่ยหมึก
               2.4 	ลูกกลง้ิ เกล่ยี หมึกที่ท�ำ หนา้ ทร่ี ับหมึกพมิ พจ์ ากลกู กล้ิงจา่ ยหมกึ
               2.5 	ลูกกลง้ิ บดหมกึ ท่รี บั หมึกพมิ พ์จากลูกกลิง้ เกลย่ี หมกึ ไปยังลกู กลง้ิ เกลย่ี หมกึ ลูกถัดไป
               2.6 	ลกู กลง้ิ คลงึ แมพ่ มิ พท์ ร่ี บั หมกึ พมิ พจ์ ากลกู กลง้ิ เกลยี่ หมกึ ไปยงั แมพ่ มิ พ์ สว่ นใหญจ่ ะมลี กู กลง้ิ
  คลงึ แมพ่ มิ พม์ ากกวา่ หน่งึ ลูก ข้ึนกับขนาดของเคร่อื งพิมพ์
         3. 	 โมยางของเคร่ืองพิมพ์ออฟเซตแห้งมี 2 แบบ ได้แก่ เครื่องพิมพ์ท่ีมีโมยางตามจำ�นวนโมแม่พิมพ์
  และเครอ่ื งพมิ พท์ ม่ี โี มยางรว่ มโมเดยี ว ทร่ี บั ถา่ ยโอนหมกึ พมิ พแ์ ตล่ ะสจี นครบทกุ สกี อ่ นแลว้ จงึ ถา่ ยโอนสหี มกึ พมิ พ์
  ท้งั หมดไปบนวสั ดใุ ช้พมิ พ์

เรอ่ื งท่ี 4.1.4
กระบวนการพมิ พอ์ อฟเซตแหง้

       การพิมพ์ออฟเซตแห้งให้มีคุณภาพเหมาะสมต้องมีการปฏิบัติตามขั้นตอนและมีเทคนิคเฉพาะสำ�หรับการ
พิมพ์ออฟเซตแห้ง ในที่นี้ใช้เครื่องพิมพ์ออฟเซตแห้งที่พิมพ์ถ้วยพลาสติก โดยมีรายละเอียดดังนี้

1. 	ขน้ั ตอนการพิมพ์ออฟเซตแห้ง

       การพิมพ์ออฟเซตแห้งมีขั้นตอนการพิมพ์ ได้แก่ ขั้นเตรียมพร้อมพิมพ์ และขั้นพิมพ์
       1.1 	ข้ันเตรียมพร้อมพิมพ์ เป็นขั้นตอนเตรียมพร้อมก่อนขั้นพิมพ์ โดยต้องเตรียมวัสดุทางการพิมพ์ และ
เตรียมพร้อมเครื่องพิมพ์ดังนี้

            1.1.1 	ขัน้ เตรยี มวัสดุทางการพิมพ์ วัสดุทางการพิมพ์ที่สำ�คัญ ได้แก่ วัสดุใช้พิมพ์ และหมึกพิมพ์
                1) 	การเตรียมวัสดุใช้พิมพ์ วัสดุใช้พิมพ์มีหลายชนิดทำ�จากวัสดุแตกต่างกันซึ่งมีผลต่อการเลือก

ใช้หมึกพิมพ์ให้เหมาะสม ถ้าเป็นการพิมพ์บนบรรจุภัณฑ์พลาสติก สมบัติของพลาสติกส่วนใหญ่มีพลังงานตึงผิวตํ่า
หมึกพิมพ์ไม่ติดบนผิววัสดุพลาสติก จำ�เป็นต้องปรับสภาพผิวโดยเปลี่ยนสมบัติทางเคมีให้รับหมึกพิมพ์มาติดที่ผิว
ได้ ซึ่งทำ�ได้โดยวิธีโคโรนา (corona discharge) และใช้เปลวไฟ (gas flame) โดยทั่วไปใช้วิธีโคโรนาปรับสภาพผิว
พลาสติกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์ที่มีผนังบาง เช่น ท่อพลาสติก และวิธีเปลวไฟปรับสภาพผิวพลาสติกสำ�หรับบรรจุภัณฑ์
ที่มีผนังหนา เช่น ขวด กระป๋องสี การปรับสภาพผิวช่วยให้ผิวพลาสติกมีสมบัติเปียกตัว (wetting) ดีขึ้น จึงรับหมึก
พิมพ์ได้ดีขึ้น และสามารถสร้างพันธะทางเคมีกับเรซินในหมึกพิมพ์ ทำ�ให้ยึดติดหมึกพิมพ์ได้ดีขึ้น

                การปรับสภาพผิวควรสัมพันธ์กับหมึกพิมพ์ที่เลือกใช้ ถ้าใช้หมึกพิมพ์ปกติที่แห้งตัวด้วยลมร้อน
หรือรังสีอินฟราเรด ซึ่งมีตัวทำ�ละลายเอสเทอร์เป็นองค์ประกอบ พลาสติกบางชนิดมีสมบัติต้านทานต่อตัวทำ�ละลาย
เอสเทอร์ที่เป็นส่วนผสมในหมึกพิมพ์ เช่น พลาติกกลุ่มพอลิโอลิฟิน พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน เป็นต้น พลาสติก
กลุ่มนี้ต้องผ่านการปรับสภาพผิวก่อนนำ�ไปพิมพ์ แต่พลาสติกบางชนิดดูดซับตัวทำ�ละลายเอสเทอร์ในหมึกพิมพ์ได้
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34