Page 5 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 5
(3)
ค�ำน�ำ
ในยุคเศรษฐกิจไร้พรมแดน การศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศจะช่วยให้นักศึกษาและ
ผู้อ่านมีความเข้าใจถึงความรู้พ้ืนฐานและกลไกต่างๆ ทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ในด้านการค้า การ
เงนิ และการเคลอื่ นยา้ ยปจั จยั การผลติ ระหวา่ งประเทศ ตลอดถงึ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ
องค์การทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สารสนเทศและข้อมูลเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่ส�ำคัญ ฯลฯ ทั้งน้ี
เพื่อเป็นประโยชน์ในการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์และความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจ
ของประเทศต่างๆ ในโลก ซ่ึงจะสามารถน�ำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติได้ต่อไป
เอกสารการสอนชดุ วชิ าเศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศมี 2 เลม่ ในเลม่ ที่ 1 ครอบคลมุ เนอื้ หาหนว่ ยที่
1-7 ส่วนใหญ่เป็นเนื้อหาด้านเศรษฐศาสตร์การค้าระหว่างประเทศ และมีเน้ือหาเก่ียวกับอัตราแลกเปล่ียน
ตลาดเงินตราระหว่างประเทศ และระบบการเงินระหว่างประเทศ ในตอนท้ายของเล่ม ส่วนในเล่มท่ี 2
ครอบคลุมเน้ือหาหน่วยที่ 8-15 เป็นเน้ือหาด้านการเงินและการเคล่ือนย้ายปัจจัยการผลิตระหว่างประเทศ
การปรับดุลยภาพทางเศรษฐกิจภายใต้ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบต่างๆ และการออกมาตรการเพื่อดูแล
ดุลการช�ำระเงิน และเนื้อหาอื่นที่ส�ำคัญ อาทิ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ องค์การทาง
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ กิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศของไทย เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
กับการพัฒนา และสารสนเทศและข้อมูลเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เน่ืองจากชุดวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เป็นวิชาท่ีเน้นการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
ต่างๆ ท้ังทางด้านจุลภาคและมหภาคในการวิเคราะห์ ดังนั้น นักศึกษาจึงควรทบทวนเน้ือหาในชุดวิชา
หลักเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นและเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาชุดวิชาเศรษฐศาสตร์
ระหวา่ งประเทศ โดยภาคผนวกทา้ ยหนว่ ยที่ 1 จะมกี ารแนะนำ� เครอ่ื งมอื ทางเศรษฐศาสตรบ์ างสว่ นทส่ี ำ� คญั
และจ�ำเป็นต้องใช้ไว้ให้ด้วยเพ่ือความสะดวกในการศึกษา ซ่ึงจะท�ำให้การศึกษาชุดวิชาเศรษฐศาสตร์
ระหว่างประเทศนี้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน
ท้ายน้ีขอให้นักศึกษาประสบความส�ำเร็จในการศึกษาชุดวิชานี้
คณะกรรมการกลมุ่ ปรับปรงุ ชดุ วิชา
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ