Page 9 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 9
(7)
วิธีการศึกษา
1. การเตรียมตัวเพื่อการศึกษาด้วยตนเอง
ในการศึกษาชุดวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ นักศึกษาควรหาเวลาว่างตอนใดก็ได้ที่สะดวก
ที่สุดประมาณวันละ 2 ชั่วโมง เพ่ือศึกษารายละเอียดของเนื้อหาสาระ และปฏิบัติกิจกรรมที่ได้ก�ำหนดให้
โดยครบถ้วน
นักศึกษาควรตรวจตารางออกอากาศรายการวิทยุกระจายเสียง และรายการวิทยุโทรทัศน์
ตลอดจนตารางอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2. การประเมินผลตนเองก่อนเรียนและหลังเรียน
ก่อนศึกษาแต่ละหน่วยนักศึกษาควรทราบว่าตนเองมีความรู้มากน้อยเพียงใด โดยการท�ำแบบ
ประเมินผลตนเองก่อนเรียนท่ีได้เตรียมไว้ให้ตอนต้นของแต่ละหน่วยในแบบฝึกปฏิบัติ แล้วตรวจค�ำตอบ
จากค�ำเฉลยค�ำตอบในหน้าท่ีก�ำหนดไว้
เมื่อศึกษาหน่วยนั้นเสร็จแล้วขอให้นักศึกษาประเมินผลตนเองหลังเรียน โดยท�ำแบบประเมินผล
ตนเองหลงั เรยี น และแบบประเมนิ ผลทใ่ี หไ้ วต้ อนทา้ ยของแบบฝกึ ปฏบิ ตั แิ ตล่ ะหนว่ ย เมอ่ื ทำ� เสรจ็ แลว้ ตรวจ
ค�ำตอบจากเฉลยเพ่ือทราบว่าตนเองเข้าใจดีแล้วหรือไม่ แล้วน�ำผลของการทดสอบนี้ไปเปรียบเทียบกับ
คะแนนการทดสอบตนเองก่อนเรียนเพ่ือดูความก้าวหน้าในการเรียน ในกรณีท่ีท�ำแบบประเมินผลตนเอง
หลังเรียนได้คะแนนต่ํา ขอได้โปรดศึกษาหน่วยการสอนน้ันซํ้าอีก และท�ำความเข้าใจกับค�ำถามที่ท�ำให้ได้
คะแนนต่ํา
3. การศึกษาเอกสารการสอน
เอกสารการสอนชุดวิชาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ ได้บรรจุเน้ือหาสาระส�ำคัญไว้แล้ว ฉะน้ัน
เพื่อให้การเรียน การสอนด�ำเนินไปด้วยดีและบรรลุผลตามความมุ่งหมายของชุดวิชาอย่างมีประสิทธิภาพ
นักศึกษาจึงควรศึกษาเอกสารการสอนแต่ละหน่วยแล้ว
ก่อนศึกษาเน้ือหาในแต่ละหน่วยขอให้ศึกษาแผนการสอนประจ�ำหน่วยเสียก่อน และก่อนศึกษา
เนื้อหาในแต่ละตอนขอให้ศึกษาหัวเร่ือง แนวคิด และวัตถุประสงค์ของตอน แล้วจึงศึกษารายละเอียด
เมื่ออ่านรายละเอียดของแต่ละเรื่องในแต่ละตอนจบแล้ว ควรบันทึกสาระส�ำคัญของแต่ละเร่ืองลง
ในแบบฝึกปฏิบัติ และปฏิบัติกิจกรรมท่ีก�ำหนดไว้ในตอนท้ายของแต่ละเรื่อง (ถ้ามี) ก่อนจะศึกษาเร่ือง
อ่ืนๆ ต่อไป การปฏิบัติกิจกรรมน้ีจะช่วยให้นักศึกษาสามารถประเมินผลตนเองได้ว่า นักศึกษามีความ
เข้าใจในสิ่งที่อ่านมากน้อยเพียงใด อันจะเป็นประโยชน์ส�ำหรับนักศึกษาในแง่ของการท�ำข้อสอบ เพื่อการ
ประเมินผลครั้งสุดท้ายของชุดวิชาและการได้รับความรู้อย่างแท้จริง ฉะน้ันนักศึกษาจึงควรปฏิบัติกิจกรรม
ทุกอย่างด้วยตนเอง