Page 12 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 12
10-2 เศรษฐศาสตร์ระหวา่ งประเทศ
แผนการสอนประจ�ำหน่วย
ชุดวิชา เศรษฐศาสตรร์ ะหว่างประเทศ
หน่วยท่ี 10 การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ
ตอนที่
10.1 การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจและทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ ง
10.2 การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในโลกท่ีส�ำคัญ
10.3 การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจของไทย
แนวคิด
1. การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ หมายถงึ การทป่ี ระเทศตงั้ แตส่ องประเทศขน้ึ ไปทำ� ความตกลงรว่ ม
กนั ในการลดหรือยกเลกิ ขอ้ จำ� กดั ทางการค้าระหวา่ งกนั โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่อื ประโยชนท์ าง
ด้านการขยายตัวทางการค้า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีอยู่หลายระดับต้ังแต่การรวมตัวกัน
อย่างหลวมๆ จนถึงระดับท่ีกลายเป็นประเทศท่ีมีระบบเศรษฐกิจเดียวกัน โดยมีทฤษฎีที่
เกีย่ วขอ้ งกบั การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจคือ ทฤษฎีสหภาพศุลกากรหรอื อกี ช่ือหนึ่งคอื ทฤษฎดี ี
เป็นที่สอง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในรูปแบบที่สมาชิกไม่ได้เรียกเก็บภาษีศุลกากรกับ
ประเทศนอกกลุ่มในอัตราท่ีเท่ากัน จะส่งผลท�ำให้เกิดการบ่ายเบนทางการค้าขึ้นได้ ดังนั้น
กฎว่าด้วยแหลง่ ก�ำเนิดสนิ ค้าจึงต้องเขา้ มามีบทบาท
2. ต วั อย่างของการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจ ได้แก่ เขตเศรษฐกจิ ยุโรป สหภาพยุโรป และสมาคม
เขตการค้าเสรียุโรป เป็นตัวอย่างการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในทวีปยุโรป เขตการค้าเสรี
อเมริกาเหนือ ตลาดร่วมอเมริกาใต้ตอนล่าง และประชาคมแอนเดียน เป็นตัวอย่างการรวม
กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในทวปี อเมรกิ า กลมุ่ ประชาคมเศรษฐกจิ แหง่ รฐั แอฟรกิ าตะวนั ตก ตลาดรว่ ม
แห่งภูมิภาคแอฟริกาตะวันออกและแอฟริกาตอนใต้และสหภาพศุลกากรแห่งแอฟริกาตอนใต้
เป็นตัวอย่างการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในทวีปแอฟริกา เขตการค้าเสรีอาเซียน และเขตการ
ค้าเสรเี อเชยี ใต้ เปน็ ตัวอยา่ งการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชีย
3. บทบาทของไทยในการจดั ทำ� ความตกลงเขตการคา้ เสรกี บั ประเทศตา่ งๆ มมี ากขน้ึ หลงั จากการ
เจรจาการค้าพหุภาคีรอบโดฮาภายใต้กรอบองค์การการค้าโลกไม่มีความคืบหน้า ส่งผลให้
นโยบายการค้าระหว่างประเทศของไทยต้องเปล่ียนไปเป็นการเปิดตลาดกับต่างประเทศโดย
อาศัยการจัดท�ำความตกลงเขตการค้าเสรีทั้งในรูปแบบพหุภาคีและทวิภาคีแทน แต่อย่างไร-
ก็ตาม การจัดท�ำความตกลงทางการค้าเสรีอาจจะไม่ได้ส่งผลในการสร้างมูลค่าทางการค้าใน
เชิงบวกเสมอไป