Page 17 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 17
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ 10-7
กอ่ นจดั ต้งั เขตสทิ ธพิ ิเศษทางการค้า หลงั จดั ต้ังเขตสทิ ธิพิเศษทางการค้า
ภาพที่ 10.1 ตัวอย่างเชิงเปรียบเทียบส�ำหรับการจัดตั้งเขตสิทธิพิเศษทางการค้า
เขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) เปน็ การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจท่ีแต่ละประเทศรว่ มมอื
กนั ยกเลกิ ภาษศี ลุ กากรหรอื อปุ สรรคทางการคา้ อน่ื ๆ ระหวา่ งกนั โดยทนั ทหี รอื คอ่ ยเปน็ คอ่ ยไปกไ็ ด้ อยา่ งไร-
กต็ าม แตล่ ะประเทศในกลมุ่ ยงั คงเรยี กเกบ็ ภาษศี ลุ กากรกบั ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราทแี่ ตล่ ะประเทศกำ� หนด
เองเช่นเดียวกับกรณีของเขตสิทธิพิเศษทางการค้า โดยตัวอย่างของเขตการค้าเสรี ได้แก่ เขตการค้าเสรี
อเมรกิ าเหนอื (North American Free Trade Agreement: NAFTA) ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย สหรฐั อเมรกิ า
แคนาดา และเม็กซโิ ก เขตการคา้ เสรอี าเซยี น-จีน (ASEAN-China Free Trade Agreement) ระหวา่ ง
ประเทศในกลมุ่ อาเซยี นกบั ประเทศจนี เขตการคา้ เสรี ไทย-อนิ เดยี (India-Thailand Free Trade Area:
ITFTA) ระหวา่ งไทยกบั อนิ เดยี ความตกลงหนุ้ สว่ นเศรษฐกจิ ทใี่ กลช้ ดิ ไทย-ญป่ี นุ่ (Japan-Thailand Eco-
nomic Partnership Agreement: JTEPA) ระหวา่ งไทยกับญป่ี ุ่น เปน็ ต้น
การจดั ต้ังเขตการค้าเสรเี ปรียบได้ดังภาพท่ี 10.2 โดยสมมติใหม้ ีประเทศในโลกอยู่ 4 ประเทศคอื
ประเทศ A ประเทศ B ประเทศ C และประเทศ D แตล่ ะประเทศจะมกี ารตงั้ กำ� แพงภาษกี บั ประเทศตา่ งๆ
ในโลกดงั แสดงดว้ ยเครอื่ งหมาย + โดยถา้ เครอื่ งหมายมขี นาดใหญแ่ สดงวา่ มอี ตั ราภาษศี ลุ กากรอยใู่ นระดบั
สูง แต่ถ้าเครื่องหมายมีขนาดเล็กแสดงว่าประเทศนั้นๆ มีอัตราภาษีศุลกากรอยู่ในระดับต่ํา เราจะท�ำการ
ศกึ ษาโดยม่งุ ไปยังประเทศ A และประเทศ B ท่ีจดั ต้งั เขตการคา้ เสรีระหวา่ งกัน ซ่งึ ส่งผลให้ก�ำแพงภาษี
ระหวา่ งกันหายไปเหลอื แตเ่ พยี งเส้นประ ในขณะท่ปี ระเทศ A และประเทศ B ยงั คงต้งั กำ� แพงภาษนี ำ� เขา้
กบั ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราทแ่ี ตล่ ะประเทศกำ� หนดเองในทางทฤษฎกี ารจดั ตง้ั เขตการคา้ เสรสี ง่ ผลทำ� ใหม้ ี
การค้าขายระหว่างกันมากข้นึ เนื่องจากแต่ละประเทศร่วมมอื กนั ยกเลกิ ภาษศี ลุ กากรหรอื อปุ สรรคทางการ
คา้ อื่นๆ ระหว่างกัน