Page 18 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 18
10-8 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
ทนุ (A) แรงงาน (A)
สนิ คา้ (B) สนิ คา้ (A)
สนิ คา้ (B) สนิ คา้ (A)
ทนุ (B) แรงงาน (B)
ภาพที่ 10.2 ตัวอย่างเชิงเปรียบเทียบส�ำหรับการจัดตั้งเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศ A และ B
สหภาพศุลกากร (Custom Union) เปน็ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ทปี่ ระเทศในสหภาพศุลกากร
ด�ำเนนิ การยกเลกิ ภาษีศลุ กากรหรืออุปสรรคทางการค้าอืน่ ๆ ระหวา่ งกัน รวมทงั้ เรียกเก็บภาษศี ลุ กากรกับ
ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราเดยี วกนั ดว้ ย หรอื กลา่ วอกี นยั หนง่ึ คอื สหภาพศลุ กากรเปน็ เขตการคา้ เสรที ม่ี กี าร
จดั เกบ็ ภาษศี ลุ กากรกบั ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราเดยี วกนั โดยตวั อยา่ งของการจดั ตง้ั สหภาพศลุ กากร ไดแ้ ก่
การรวมตัวเป็น European Community (EC) ของประเทศเยอรมนตี ะวนั ตก ฝรงั่ เศส อิตาลี เบลเยีย่ ม
เนเธอร์แลนด์ และลกั เซมเบริ ์ก ในปี 1957 กลุ่มตลาดรว่ มอเมริกาใต้ (MERCOSUR) ท่ปี ระกอบไปด้วย
อาร์เจนตนิ า บราซลิ ปารากวยั อุรกุ วัย และเวเนซเู อลาร์
การจัดต้ังสหภาพศุลกากรเปรียบได้ดังกับภาพที่ 10.3 โดยประเทศ A และประเทศ B จัดต้ัง
สหภาพศุลกากรระหว่างกัน ซึ่งส่งผลให้ก�ำแพงภาษีระหว่างกันหายไปเหลือแต่เพียงเส้นประเช่นเดียวกัน
กบั การจดั ตงั้ เขตการคา้ เสรี แตม่ ขี อ้ แตกตา่ งคอื ทงั้ ประเทศ A และประเทศ B มกี ารตงั้ กำ� แพงภาษนี ำ� เขา้
กบั ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราทเ่ี ทา่ กนั ดงั แสดงไดจ้ ากภาพท่ี 10.3 ทเี่ ครอ่ื งหมาย + รอบประเทศ A และ B
ท่ีมีขนาดเท่ากัน ซ่ึงแสดงให้เห็นว่าท้ังสองประเทศตั้งก�ำแพงภาษีน�ำเข้าเพื่อเรียกเก็บกับสินค้าน�ำเข้าจาก
ประเทศ C และ D ในอตั ราเทา่ กนั