Page 19 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 19
การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 10-9
ทนุ (A) แรงงาน (A)
สนิ คา้ (B) สนิ คา้ (A)
สนิ คา้ (B) สนิ คา้ (A)
ทนุ (B) แรงงาน (B)
ภาพท่ี 10.3 ตัวอย่างเชิงเปรียบเทียบส�ำหรับการจัดต้ังสหภาพศุลกากรระหว่างประเทศ A และ B
ตลาดรว่ ม (Common Market) เปน็ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ทกี่ า้ วหนา้ มากกวา่ สหภาพศลุ กากร
กลา่ วคอื นอกจากประเทศในตลาดรว่ มดำ� เนนิ การยกเลกิ ภาษศี ลุ กากรหรอื อปุ สรรคทางการคา้ อน่ื ๆ ระหวา่ ง
กันและเรียกเก็บภาษีศุลกากรกับประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกันแล้ว ปัจจัยการผลิตไม่ว่าจะเป็น
ทนุ แรงงาน เทคโนโลยี และการประกอบการ สามารถเคลื่อนยา้ ยระหวา่ งประเทศสมาชิกในตลาดร่วมได้
อย่างเสรี หรือกล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ตลาดร่วมเป็นสหภาพศุลกากรที่สามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต
ระหวา่ งสมาชกิ ไดอ้ ยา่ งอสิ ระตวั อยา่ งของการจดั ตง้ั ตลาดรว่ ม ไดแ้ ก่ ตลาดรว่ มยโุ รป European Common
Market
การจัดต้งั ตลาดรว่ มเปรยี บได้ดังกับภาพท่ี 10.4 โดยประเทศ A และประเทศ B จดั ต้ังตลาดรว่ ม
ระหว่างกันนอกจากทั้งประเทศ A และประเทศ B จะก�ำจัดอุปสรรคทางการค้าระหว่างกันออกไปและ
ตั้งก�ำแพงภาษีนำ� เขา้ กับประเทศนอกกลุ่มในอัตราที่เท่ากนั ดังเชน่ การจัดตั้งสหภาพศลุ กากรแลว้ ประเทศ
ท้ังสองยังมีการอนุญาตให้ปัจจัยการผลิตของแต่ละประเทศทั้งปัจจัยแรงงานและปัจจัยทุน สามารถเคลื่อน
ยา้ ยระหวา่ งกันได้อยา่ งอิสระอกี ดว้ ย