Page 20 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 20
10-10 เศรษฐศาสตรร์ ะหว่างประเทศ
สินคา้ สนิ คา้
ทุน (A) (Bฺ ) แรงงาน
ทนุ (B) (A) แรงงาน
(A) (B)
ทุน แรงงาน
(A) ทนุ (B)
(B) สนิ คา้ สนิ ค้า แรงงาน
(A) (ฺB) (A)
ภาพท่ี 10.4 ตัวอย่างเชิงเปรียบเทียบส�ำหรับการจัดตั้งตลาดร่วมระหว่างประเทศ A และ B
สหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจโดยสมบูรณ์ โดย
นอกจากจะมีการยกเลิกภาษีศุลกากรหรืออุปสรรคทางการค้าอื่นๆ ระหว่างกันเรียกเก็บภาษีศุลกากรกับ
ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราเดยี วกนั และอนญุ าตใหป้ จั จยั การผลติ ไมว่ า่ จะเปน็ ทนุ แรงงาน เทคโนโลยี และ
การประกอบการสามารถเคลอื่ นยา้ ยระหวา่ งประเทศสมาชกิ ไดอ้ ยา่ งเสรแี ลว้ ประเทศสมาชกิ ในสหภาพทาง
เศรษฐกจิ ยังมีการประสานความร่วมมือในเรอ่ื งนโยบายทางเศรษฐกจิ การเงนิ และการคลงั รว่ มกนั อีกดว้ ย
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ สหภาพทางเศรษฐกิจเป็นตลาดร่วมที่มีการด�ำเนินนโยบายการเงินและนโยบาย
การคลังรว่ มกัน ตวั อยา่ งของสหภาพทางเศรษฐกิจคอื สหภาพยุโรป (EU)
การจัดตง้ั สหภาพทางเศรษฐกจิ เปรยี บได้ดังกบั ภาพท่ี 10.4 โดยประเทศ A และประเทศ B จัด
ตงั้ สหภาพทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งกนั นอกจากทง้ั สองประเทศจะกำ� จดั อปุ สรรคทางการคา้ ระหวา่ งกนั ออกไป
และตง้ั กำ� แพงภาษกี บั ประเทศนอกกลมุ่ ในอตั ราทเ่ี ทา่ กนั รวมทง้ั ปจั จยั การผลติ ของทงั้ สองประเทศสามารถ
เคลอื่ นยา้ ยระหวา่ งกนั ไดอ้ ย่างอิสระดังเช่นตลาดรว่ มแล้ว ท้ังสองประเทศในสหภาพทางเศรษฐกจิ ยงั มกี าร
ใชน้ โยบายทางการเงนิ และนโยบายทางการคลงั รว่ มกนั อกี ดว้ ย โดยสง่ิ ทเี่ หน็ ไดช้ ดั คอื การใชส้ กลุ เงนิ เดยี วกนั