Page 22 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 22
10-12 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
ตารางท่ี 10.1 (ต่อ)
ประเภทของการรวม ลดระดับ ก�ำจัด มีการตั้งก�ำแพง ปัจจัยการ มีนโยบาย
กลุ่มทางเศรษฐกิจ อุปสรรคทาง อุปสรรค ภาษีน�ำเข้ากับ ผลิตเคล่ือน เศรษฐกิจ
ทางการค้า ประเทศนอก ย้ายโดยอิสระ เดียวกัน
ตลาดรว่ ม การค้า กลุ่มเท่ากัน
(Common Market)
สหภาพทางเศรษฐกจิ XX X
(Economic Union)
XX XX
กิจกรรม 10.1.1
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจมีก่รี ปู แบบ อะไรบ้าง
แนวตอบกิจกรรม 10.1.1
การรวมกลมุ่ เศรษฐกิจ แบง่ ไดอ้ อกเปน็ 5 รปู แบบ คอื เขตสทิ ธพิ เิ ศษทางการคา้ เขตการค้าเสรี
สหภาพศุลกากร ตลาดร่วม และสหภาพเศรษฐกิจ
เรื่องท่ี 10.1.2
ผลกระทบจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
ทฤษฎีท่ีน�ำมาใช้ในการวิเคราะห์ผลกระทบจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ คือ ทฤษฎีสหภาพ
ศุลกากร (The theory of Custom Unions) ซงึ่ ถูกสรา้ งข้นึ มาโดย จาคอ็ บ ไวเนอร์ (Jacob Viner)
ในปี 1950 ต่อมาทฤษฎีสหภาพศุลกากรได้มีการพัฒนาให้ประยุกต์ใช้ได้กว้างขวางมากย่ิงขึ้นโดยลิพซี
(Lipsey) และมดี (Meade) เรยี กวา่ ทฤษฎดี ที ส่ี ดุ รองลงมา (The Theory of the second best) ซงึ่ กลา่ ว
ว่าการรวมกลุ่มทางการค้าไม่ได้ก่อให้เกิดสวัสดิการท่ีสูงข้ึนเสมอไปโดยการวัดสวัสดิการจากการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจ จะพิจารณาจากผลสทุ ธขิ องสวสั ดิการทเ่ี พม่ิ ขึ้นจากการสร้างการค้า (trade creation) และ
สวสั ดิการทีล่ ดลงจากการเบย่ี งเบนการค้า (trade diversion)