Page 26 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 26
10-16 เศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ
เมอื่ พจิ ารณาผลทางสวสั ดกิ ารพบวา่ ผบู้ รโิ ภคในประเทศ H ไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากการเขา้ รว่ มกลมุ่
ทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศ F ซง่ึ ผลประโยชนด์ งั กลา่ วแสดงไดด้ ว้ ยสว่ นเกนิ ผบู้ รโิ ภค (Consumers surplus)
ซง่ึ มพี น้ื ทเ่ี ทา่ กบั AGJB แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามผผู้ ลติ ภายในประเทศ H บางสว่ นกลบั ไมไ่ ดร้ บั ผลประโยชนจ์ าก
การเข้ารว่ มกลุ่มทางเศรษฐกิจ โดยแสดงไดจ้ ากการสูญเสยี ในสว่ นเกินผู้ผลติ (Producers surplus) จาก
การเปล่ียนไปน�ำเข้าสินค้าท่ีมีราคาถูกกว่าจากประเทศ F ซึ่งมีพื้นท่ีเท่ากับ AGJC ดังน้ัน ผลประโยชน์
สทุ ธขิ องของประเทศ H หลงั จากการเขา้ รว่ มกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศ F จงึ มคี า่ เทา่ กบั รปู สามเหลย่ี ม
CJB
พื้นที่สามเหลี่ยม CJMเป็นส่วนของสวัสดิการทางฝั่งผู้ผลิตท่ีได้รับประโยชน์จากการสร้างการค้า
โดยท�ำการลดการผลิตสนิ คา้ 20 หน่วย (CM) จากผ้ผู ลิตในประเทศ H ซ่งึ มปี ระสทิ ธภิ าพในการผลติ ต่ํา
(มีต้นทุนการผลิตเท่ากับพื้นที่ VUJC) ไปให้ผู้ผลิตในประเทศ F ซ่ึงมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงกว่า
(มตี น้ ทุนการผลติ เท่ากับพืน้ ที่ VUMC) ทำ� การผลิตแทน ในขณะทพี่ น้ื ทส่ี ามเหลย่ี ม BJN เปน็ ส่วนของ
สวัสดิการทางฝั่งผู้บริโภคได้รับประโยชน์จากการสร้างการค้า เนื่องจากผู้บริโภคในประเทศ H สามารถ
บริโภคสินค้าได้มากข้ึน 20 หน่วย (MB) จากการน�ำเข้าสินค้าท่ีถูกลงจากประเทศ F เพราะได้รับการ
ยกเวน้ ภาษศี ลุ กากรจากการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ โดยพน้ื ที่ UJBW เปน็ ผลประโยชนท์ งั้ หมดทไ่ี ดร้ บั จาก
การบริโภคสินค้าจากประเทศ F ในขณะที่พ้ืนท่ี UMBW เป็นค่าใช้จ่ายท้ังหมดในสินค้าน�ำเข้าจาก
ประเทศ F
กรณีทีส่ องเปน็ การรวมกลมุ่ ทางการคา้ ทม่ี ที ง้ั ผลจากการสรา้ งการค้าและผลจากการเบยี่ งเบนการ
คา้ จากตารางท่ี 10.3 กำ� หนดใหใ้ ชข้ อ้ สมมตทิ ง้ั จำ� นวนประเทศทเี่ กยี่ วขอ้ ง ตน้ ทนุ ตอ่ หนว่ ยของสนิ คา้ นำ� เขา้
อปุ สงคต์ ่อสนิ คา้ นำ� เขา้ และอุปทานการสง่ ออก เหมือนกันกับกรณีทห่ี นงึ่ ซง่ึ เปน็ การรวมกลุ่มทางการค้าท่ี
มีเฉพาะผลจากการสร้างการคา้ แตม่ ีข้อสมมติทีแ่ ตกตา่ งคือก่อนการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ใหป้ ระเทศ H
เรยี กเกบ็ ภาษศี ลุ กากรในอตั รารอ้ ยละ 50 สง่ ผลใหผ้ บู้ รโิ ภคในประเทศ H ตอ้ งตดั สนิ ใจเลอื กบรโิ ภคระหวา่ ง
สินค้าภายในประเทศราคา 50 บาท สินค้าน�ำเข้าจากประเทศ F ราคา 60 บาท หรือสินค้าน�ำเข้าจาก
ประเทศ R ราคา 45 บาท เมอื่ พจิ ารณาจากราคาพบวา่ ผบู้ รโิ ภคในประเทศ H ควรนำ� เขา้ สนิ คา้ จากประเทศ
R เน่ืองจากราคาสินค้าภายในประเทศมรี าคาถกู ทส่ี ดุ ที่ 45 บาท
แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าประเทศ H รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจกับประเทศ F สง่ ผลให้สินคา้ นำ� เขา้ จาก
ประเทศ F มายังประเทศ H ไม่เสียภาษีศุลกากร แต่ประเทศ H ยังคงเรียกเก็บภาษีศุลกากรในอัตรา
รอ้ ยละ 50 กบั สนิ คา้ นำ� เขา้ จากประเทศ R เนอ่ื งจากไมไ่ ดเ้ ปน็ สมาชกิ ในกลมุ่ เศรษฐกจิ ผบู้ รโิ ภคในประเทศ
H ต้องตัดสนิ ใจเลอื กบริโภคระหว่างสินค้าภายในประเทศราคา 50 บาท สนิ ค้านำ� เขา้ จากประเทศ F ท่ีได้
สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรในราคา 40 บาท หรือสินค้าน�ำเข้าจากประเทศ R ในราคา 45 บาท เมื่อ
พิจารณาจากราคาสินค้าพบวา่ ผูบ้ ริโภคควรน�ำเข้าสินคา้ จากประเทศ F เพราะมีราคาถูกทส่ี ุด