Page 23 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 23

การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 10-13
       การสรา้ งการคา้ หมายถงึ การบรโิ ภคสนิ คา้ นำ� เขา้ จากประเทศอน่ื ๆ ในกลมุ่ สมาชกิ ซง่ึ มตี น้ ทนุ การ
ผลิตต่ํากว่า แทนการบริโภคสินค้าที่ผลิตข้ึนเองภายในประเทศซ่ึงมีต้นทุนสูงกว่า โดยมีเงื่อนไขว่า มีการ
ใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างเต็มที่ท้ังก่อนและหลังการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ดังน้ัน ผลจากการสร้างการค้าจึง
เป็นการเพ่ิมสวัสดิการทางสังคมท่ีดีขึ้นแก่ประเทศในกลุ่มสมาชิก เนื่องจากการเพ่ิมการค้าที่ขยายตัวขึ้น
หลงั จากมกี ารรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ เกดิ จากความชำ� นาญในการผลติ ตามหลกั ความไดเ้ ปรยี บโดยเปรยี บเทยี บ
(comparative advantage)
       ในขณะที่การเบ่ียงเบนการค้า หมายถึง การท่ีผู้บริโภคเปล่ียนจากการบริโภคสินค้าน�ำเข้าจาก
ประเทศนอกกลุ่มสมาชิก ซึ่งมีต้นทุนการผลิตต่ํากว่าไปเป็นการบริโภคสินค้าน�ำเข้าจากประเทศในกลุ่ม
สมาชิกซ่ึงมีตน้ ทุนการผลิตสูงกว่า โดยมสี าเหตุมากจากการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ เป็นการเลือกปฏบิ ัตใิ น
การลดภาษีศุลกากรให้กับประเทศในกลุ่มสมาชิก ซ่ึงเป็นการกีดกันการค้ากับประเทศนอกกลุ่มสมาชิก
มากขน้ึ การเบย่ี งเบนการคา้ ดงั กลา่ วสง่ ผลใหส้ วสั ดกิ ารโดยรวมลดลง เนอ่ื งจากเกดิ การเคลอ่ื นยา้ ยการผลติ
จากประเทศนอกกลุ่มซึ่งมีประสิทธิภาพการผลิตสูงกว่าไปยังประเทศสมาชิกในกลุ่มซึ่งมีประสิทธิภาพการ
ผลติ ตาํ่ กวา่ ดงั นนั้ ทศิ ทางการคา้ ทเี่ ปลยี่ นไปดงั ขา้ งตน้ จงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลเสยี ตอ่ การจดั สรรทรพั ยากรการผลติ
และไมไ่ ด้ใชห้ ลักความได้เปรียบโดยเปรียบเทยี บในการผลติ สินคา้
       ในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทุกระดับ ไม่ว่าจะเป็นเขตสิทธิพิเศษทางการค้า เขตการค้าเสรี
สหภาพศลุ กากร ตลาดรว่ ม หรอื สหภาพทางเศรษฐกจิ มกั จะมผี ลของทงั้ การสรา้ งการคา้ และการเบยี่ งเบน
การคา้ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มๆ กนั เสมอ แตส่ ำ� หรบั การศกึ ษาในครงั้ นจ้ี ะวเิ คราะหจ์ ากกรณงี า่ ยทสี่ ดุ กอ่ นคอื การรวม
กลุ่มทางการค้าที่มีเฉพาะผลจากการสร้างการค้า และกรณีที่มีความซับซ้อนมากข้ึน คือ การรวมกลุ่ม
ทางการคา้ ที่มที ั้งผลจากการสร้างการค้าและผลจากการเบยี่ งเบนการคา้
       กรณแี รกเปน็ การรวมกลมุ่ ทางการคา้ ทม่ี เี ฉพาะผลจากการสรา้ งการคา้ เพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การเขา้ ใจจะ
สมมตใิ หม้ ีประเทศท่เี ก่ียวขอ้ ง 3 ประเทศคอื ประเทศผนู้ �ำเขา้ หรือประเทศ H (Home country) ซง่ึ เป็น
ประเทศเล็กน�ำเข้าสินค้าจากประเทศคู่ค้าหรือประเทศ F (Foreign country) และประเทศอ่ืนๆ ที่มิใช่
ประเทศเจา้ บา้ นหรอื ประเทศคู่คา้ หรือประเทศ R (The rest of the world) นอกจากนนั้ ต้นทนุ ต่อหนว่ ย
ของสินค้าน�ำเข้ามีค่าคงที่ อุปสงค์ต่อสินค้าน�ำเข้ามีความยืดหยุ่นเป็น 0 และอุปทานการส่งออกจากทั้ง
ประเทศ F และ R มีความยดื หยนุ่ เปน็ อนันต์
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28