Page 27 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 27
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ 10-17
ตารางท่ี 10.3 การรวมกลุ่มทางการค้าที่มีท้ังผลจากการสร้างการค้าและผลจากการเบี่ยงเบนการค้า
ประเทศ ต้นทุนหรือราคาสินค้าใน ต้นทุนหรือราคาสินค้าใน (หนว่ ย: บาท)
ประเทศ H กรณีการค้า ประเทศ H กรณีประเทศ
H เสรีประเทศ H ไม่มีการ H เก็บภาษีศุลกากรใน ต้นทุนหรือราคาสินค้าใน
F ต้ังก�ำแพงภาษีศุลกากรกับ ประเทศ H กรณีประเทศ H
R อัตราร้อยละ 50 เก็บภาษีศุลกากรในอัตรา
ประเทศใด
50 ร้อยละ 50 แต่มีการรวม
50 60 กลุ่มทางเศรษฐกิจกับ
40 45
30 ประเทศ F
50
40
45
การเบย่ี งเบนการค้าแสดงได้จากการทปี่ ระเทศ H เคยซื้อสนิ ค้าจากประเทศ R ซึ่งมตี ้นทุนตาํ่ สดุ
แต่หลังจากท่ีได้รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจจึงท�ำให้หันมาซ้ือสินค้าจากประเทศ F แทน ทั้งๆ ท่ีในความเป็น
จริงประเทศ F ผลิตสินค้าในต้นทุนที่สูงกว่าประเทศ R แต่ได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรจนสามารถ
นำ� เขา้ ไปขายในประเทศ H ได้ในราคาท่ถี ูกกว่าประเทศ R ในสว่ นน้ีแสดงถึงการเบยี่ งเบนการค้าทีท่ ำ� ให้
เกิดการสูญเสียสวัสดิการ ในขณะท่ีการสร้างการค้าแสดงได้จากการท่ีประเทศ H ก่อนการรวมกลุ่มทาง
เศรษฐกจิ ทำ� การบรโิ ภคสนิ คา้ จากการผลติ โดยผผู้ ลติ ทม่ี ศี กั ยภาพภายในประเทศ H (มตี น้ ทนุ การผลติ ไม่
เกิน 45 บาท) และอีกสว่ นหนง่ึ นำ� เข้าจากประเทศ R ซง่ึ มีราคาขายอยู่ท่ี 45 บาท แตภ่ ายหลังการรวม
กลุ่มส่งผลให้ราคาภายในประเทศ H ลดลง เน่ืองจากประเทศ F สามารถน�ำเข้าสินค้าท่ีมีราคาตํ่ากว่าที่
40 บาท จงึ สง่ ผลให้ผูผ้ ลติ ในประเทศ H ทีไ่ มส่ ามารถแขง่ ขันกบั ต้นทุนที่ 40 บาทได้บางส่วนต้องออกจาก
ตลาดไป ดังนั้น การผลิตภายในประเทศ H จงึ ลดลง และหนั มาซ้อื สินค้าจากประเทศ F แทน การเปลีย่ น
จากการผลิตภายในประเทศมาเป็นการน�ำเข้าจากภายนอกน้ีเป็นการสร้างการค้า ดังนั้นการประเมิน
สวัสดิการท่ีประเทศ H จะได้รับ จึงต้องน�ำผลสุทธิของทั้งการสร้างการค้าและการเบ่ียงเบนการค้ามาหัก
ลบกนั