Page 7 - เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
P. 7
(5)
รายละเอียดชุดวิชา
1. ค�ำอธิบายชุดวิชา
ศกึ ษาเศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศทมี่ เี นอ้ื หาประกอบดว้ ย 2 สว่ นหลกั ไดแ้ ก่ สว่ นทห่ี นง่ึ ทฤษฎี
การคา้ ระหวา่ งประเทศของนกั เศรษฐศาสตร์สมยั พาณชิ ย์นยิ ม คลาสสิก นีโอคลาสสกิ และทฤษฎแี นวใหม่
โดยศึกษาแบบเป็นระบบ ท้ังด้านทฤษฎี สมมติฐาน และการประยุกต์ทฤษฎีเข้ากับเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น
จริงในหัวข้อต่างๆ เช่น ทฤษฎีการค้าของริคาร์โดและการทดสอบด้วยข้อเท็จจริง ทฤษฎีการค้าของ
เฮคเชอร์และโอห์ลิน ข้อโต้แย้งของลีออนเทียฟ ทฤษฎีสมภาพในราคาปัจจัยการผลิต ทฤษฎีของสโตเพิล
และซามูลเอลสัน และทฤษฎีของริบชินสกี เป็นต้น โดยจะมีการวิเคราะห์ดุลยภาพทางการค้าระหว่าง
ประเทศในเชงิ สถติ ยเ์ ปรยี บเทยี บและเชงิ พลวตั รวมทงั้ ศกึ ษาเกยี่ วกบั นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศ สว่ น
ที่สอง ความรู้และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกับการเงินระหว่างประเทศ อาทิ ทฤษฎีการก�ำหนดอัตราแลกเปล่ียน
ตลาดเงินตราต่างประเทศ และระบบการเงินระหว่างประเทศ นอกจากน้ียังมีการศึกษาเก่ียวกับ
ดุลการช�ำระเงิน กระบวนการและนโยบายการปรับดุลการช�ำระเงินระหว่างประเทศ การปรับดุลยภาพ
ภายในและดุลยภาพภายนอกภายใต้ระบบอัตราแลกเปล่ียนแบบต่างๆ การเคล่ือนย้ายปัจจัยการผลิต
ระหวา่ งประเทศ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ องคก์ ารทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ การคา้
การเงิน และการลงทุนระหว่างประเทศของไทย เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนา และ
สารสนเทศและข้อมูลเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจด้านทฤษฎีการค้าและนโยบายการค้าระหว่างประเทศ
2.2 เพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจด้านทฤษฎีการเงินและนโยบายการเงินระหว่างประเทศ
2.3 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมและผลกระทบของธุรกรรมทางเศรษฐกิจ
ระหว่างประเทศ
3. รายชื่อหน่วยการสอน
หน่วยท่ี 1 แนวคิดท่ัวไปของเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
หน่วยที่ 2 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศ (1)
หน่วยที่ 3 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศสมัยนีโอคลาสสิก
หน่วยที่ 4 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศแนวใหม่
หน่วยท่ี 5 นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
หน่วยที่ 6 ความจ�ำเริญทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ
หน่วยท่ี 7 อัตราแลกเปล่ียน ตลาดเงินตราต่างประเทศ และระบบการเงินระหว่างประเทศ