Page 18 - คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
P. 18

5-6 คอมพวิ เตอร์เบื้องตน้
                 2) ขอ้ มลู ภาพเคลื่อนไหว (moving image data) เกดิ จากการบนั ทกึ ภาพดจิ ทิ ลั หลายๆ

ภาพในเวลาทตี่ า่ งกนั เพยี งเลก็ นอ้ ยอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เมอ่ื นำ� ขอ้ มลู มาแสดงตอ่ เนอื่ งกนั จงึ รสู้ กึ วา่ กำ� ลงั เหน็ ภาพ
เคลอื่ นไหว แตจ่ รงิ ๆ แลว้ เปน็ การเลน่ ภาพนงิ่ หลายๆ ภาพตอ่ เนอื่ งกนั ดว้ ยความเรว็ อยา่ งนอ้ ย 25 ภาพตอ่ วนิ าที

            2.1.2	 การได้ยิน (auditory) เกิดจากการส่ันสะเทือนของวัตถุ ท�ำให้โมเลกุลอากาศที่อยู่
โดยรอบเคลอ่ื นทจ่ี ากตำ� แหนง่ เดมิ ไปชนกบั โมเลกลุ ทอี่ ยถู่ ดั ไป กอ่ ใหเ้ กดิ การถา่ ยโอนพลงั งานไปสโู่ มเลกลุ
ท่ีถูกชน หลังจากถ่ายโอนพลังงานแล้วโมเลกุลท่ีเคลื่อนที่มาจะเคลื่อนที่กลับไปต�ำแหน่งเดิม และโมเลกุล
ท่ีได้รับการถ่ายโอนพลังงานจะเคล่ือนที่ไปชนกับโมเลกุลถัดไป ซึ่งโมเลกุลน้ันได้มาชนกับอวัยวะรับเสียง
ท�ำให้ได้ยินเสียง หน่วยรับข้อมูลพ้ืนฐานที่ใช้ในการเก็บข้อมูลทางกายภาพประเภทนี้ ได้แก่ ไมโครโฟน
ปจั จยั ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ การเกบ็ ขอ้ มลู ประเภทนี้ ไดแ้ ก่ ความเขม้ เสยี ง (sound intensity) ระดบั เสยี ง (pitch)
และคณุ ภาพเสียง (quality of sound) โดยขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากอปุ กรณท์ ่ีกลา่ วน้นั ถกู เรียกว่า ขอ้ มูลเสียง

                 ข้อมูลเสียง (sound data) ทไี่ ดจ้ ากหนว่ ยรบั ขอ้ มลู ทางคอมพวิ เตอร์ คอื เสยี งดจิ ทิ ลั
(digital audio) โดยเสียงดจิ ทิ ลั น้ันเกิดจากการทีห่ น่วยรบั ข้อมลู ได้รับเสียงจากแหล่งกำ� เนดิ และเปลีย่ น
คลืน่ เสยี งเป็นสญั ญาณไฟฟ้า จากน้ันแปลงสัญญาณไฟฟา้ เปน็ ข้อมลู เพ่อื จัดเก็บในรูปแบบของตวั เลขทาง
คอมพวิ เตอรต์ อ่ ไป

            2.1.3 การสัมผัส (tactility) ของมนุษย์เกิดจากการท่ีผิวหนังรับส่ิงเร้าทางกายภาพจาก
ภายนอก ในทางกลบั กนั หนว่ ยรบั ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการรบั ขอ้ มลู ทางกายภาพนผ้ี า่ น เมาส์ จอยสตก๊ิ คยี บ์ อรด์
ปัจจัยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การเก็บข้อมลู ประเภทน้ี ได้แก่ การเคลือ่ นไหว (kinesthetic cue) การแตะ (cue)
และองศาความเป็นอสิ ระ (degree of freedom; DOF) โดยขอ้ มลู ท่ไี ดจ้ ากอปุ กรณท์ ี่กล่าวน้ีสามารถเก็บ
ได้ทั้งในรูปแบบของข้อมลู ตัวอักษร หรือขอ้ มลู ภาพ

                 1)		 ข้อมูลตัวอักษร   ที่ได้รับจากหน่วยรับข้อมูลเกิดจากการพิมพ์หรือเลือกอักขระ
(character) บนอปุ กรณ์ จากนนั้ คอมพวิ เตอรจ์ ะเปลย่ี นเปน็ รหสั ทคี่ อมพวิ เตอรส์ ามารถนำ� ไปจดั เกบ็ ตอ่ ได้
โดยปกติแล้วหน่วยรับข้อมูลประเภทน้ีมักจะท�ำงานร่วมกับหน่วยแสดงผลเพ่ือให้เห็นผลลัพธ์ที่ผู้ใช้งาน
ใส่ขอ้ มูลเขา้ ไป

                 2)		ข้อมูลภาพ ทไ่ี ดจ้ ากหนว่ ยรบั ขอ้ มลู คอื ภาพดจิ ทิ ลั โดยภาพดจิ ทิ ลั ในทนี่ ้ี เกดิ จาก
การทผี่ ใู้ ชง้ านสมั ผสั ลงบนหนว่ ยรบั ขอ้ มลู โดยการปอ้ นขอ้ มลู ผา่ นโปรแกรมเฉพาะ ซง่ึ นำ� ไปสกู่ ารประมวลผล
ท�ำให้เกดิ ภาพข้ึนมา

       2.2 ข้อมูลจากประเภทของสัญญาณ สัญญาณจากอุปกรณ์รับข้อมูลท่ีใช้ในการสื่อสารระหว่าง
อปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ สญั ญาณแอนะลอ็ ก และสญั ญาณดจิ ทิ ลั ซงึ่ สามารถสง่ ขอ้ มลู หรอื สญั ญาณกบั หนว่ ยประมวลผล
ไดเ้ ลย โดยสามารถแบง่ อุปกรณต์ ามสญั ญาณได้ดงั นี้

            2.2.1 	อุปกรณ์แอนะล็อก (analog device) เปน็ อปุ กรณท์ มี่ สี ญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก (analog
signal) ซ่ึงก็คือการส่งสัญญาณแบบต่อเน่ือง (continuous form) สามารถระบุได้ทุกค่าที่ก�ำหนด เช่น
จ�ำนวนจรงิ ระหวา่ ง 0-1 จะเห็นได้วา่ มีคา่ มากมายและค่าเหล่าน้ีเป็นเส้นจำ� นวนแบบไมข่ าดตอนกัน เรียก
ลกั ษณะเชน่ นวี้ า่ คลนื่ ไซน์ (sine wave) มลี กั ษณะทส่ี ำ� คญั อยู่ 3 ประการ คอื ขนาด (amplitude) หมายถงึ
ความสงู ของคลนื่ โดยสามารถวดั จากเส้นศูนย์ถึงจุดสูงสดุ ของคลน่ื (peak amplitude) หรือจากจดุ สงู สดุ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23