Page 20 - คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
P. 20

5-8 คอมพวิ เตอร์เบอื้ งต้น
            การสง่ สญั ญาณแบบแอนะลอ็ ก (analog transmission) เปน็ การสง่ สญั ญาณในรปู แบบตอ่ เนอื่ ง

โดยมีทรานสดิวเซอร์ (transducer) เปน็ ตัวแปลงพลงั งานรปู แบบต่างๆ ใหเ้ ป็นข้อมลู หรือสญั ญาณไฟฟา้
และอปุ กรณส์ ง่ สญั ญาณแบบแอนะลอ็ กจำ� เปน็ ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งแปลงสญั ญาณจากแอนะลอ็ กเปน็ ดจิ ทิ ลั (analog
to digital converter; ADC) ก่อนส่งสญั ญาณใหห้ น่วยประมวลผล ตวั อยา่ งสญั ญาณ ไดแ้ ก่ สัญญาณ
เสียง ในทางกลับกนั การสง่ สัญญาณแบบดิจทิ ลั (digital transmission) เป็นการสง่ สญั ญาณอกี ประเภท
หนงึ่ ในรูปแบบไมต่ อ่ เนอื่ ง สามารถแปลงสัญญาณจากดจิ ิทลั เป็นแอนะล็อกด้วยเคร่ืองแปลงสัญญาณจาก
ดจิ ทิ ลั เปน็ แอนะลอ็ ก (digital to analog converter; DAC)

       2.3		ข้อมูลจากการอ้างอิง ในการประมวลผลเพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ความผดิ พลาด จำ� เปน็ ตอ้ งอา้ งองิ ขอ้ มลู
ทรี่ บั เขา้ มา โดยแตล่ ะขอ้ มลู มกี ารไดม้ าทแ่ี ตกตา่ งกนั ขน้ึ อยกู่ บั อปุ กรณแ์ ละแหลง่ กำ� เนดิ ขอ้ มลู นน้ั ๆ สามารถ
แบ่งประเภทของขอ้ มลู ทีร่ ับเขา้ มาตามอุปกรณ์ดงั นี้

            2.3.1 อุปกรณ์แบบสัมบูรณ์ (absolute device) เป็นอุปกรณ์ท่ีสามารถรับข้อมูลจากการ
ปอ้ นขอ้ มลู แบบสมุ่ ไดโ้ ดยตรง หรอื จากการเปรยี บเทยี บกนั ระหวา่ งขอ้ มลู ปจั จบุ นั กบั ขอ้ มลู ตง้ั ตน้ ของอปุ กรณ์
นนั้ ๆ ตวั อยา่ งเชน่ แปน้ พมิ พ์ สามารถพมิ พล์ งไปทต่ี วั อกั ษรบนแปน้ ไดโ้ ดยตรงและตวั อกั ษรนน้ั กจ็ ะปรากฏ
บนจอภาพ จอสัมผัสและเคร่ืองอ่านพิกัด สามารถช้ีไปในต�ำแหน่งใดๆ บนจอภาพเพ่ือระบุต�ำแหน่งหรือ
เลือกต�ำแหน่งน้ันได้โดยตรง ไมโครโฟน สามารถรับเสียงได้ท่ีตัวไมโครโฟนซึ่งการส่ันสะเทือนท่ีได้รับ
เปลย่ี นแปลงตามความถีข่ องเสียงที่เขา้ มา ฯลฯ

            2.3.2 อุปกรณ์แบบสัมพัทธ์ (relative device) เปน็ อปุ กรณท์ สี่ ามารถรบั ขอ้ มลู จากการเปรยี บ-
เทยี บกนั ระหวา่ งข้อมลู ถัดไปกับขอ้ มูลปัจจุบันเพอ่ื ใชใ้ นการด�ำเนนิ การต่อไป มักจะพบเห็นมากในอปุ กรณ์
ช้ีต�ำแหนง่ ตวั อย่างเช่น เมาส์ สามารถรบั ข้อมูลจากการท่เี ลอื่ นเมาสไ์ ปในทิศทางต่างๆ ท่ีตา่ งจากจุดเดิม
ถ้าเล่ือนมากทิศทางจะเปล่ียนไปมาก จอยสติ๊กและพอยติงสติ๊ก สามารถรับข้อมูลโดยการเลื่อนปุ่มบังคับ
ไปในทศิ ทางตา่ งๆ ในชว่ งขณะหนงึ่ ทำ� ใหส้ ญั ลกั ษณต์ วั กระพรบิ หรอื ทช่ี ต้ี �ำแหนง่ เคลอื่ นท่ี ทชั แพด สามารถ
รบั ขอ้ มลู โดยการเอานว้ิ ลากไปบนทชั แพดจากต�ำแหนง่ หนง่ึ ไปยงั ตำ� แหนง่ หนง่ึ จะทำ� ใหส้ ญั ลกั ษณต์ วั กระพรบิ
เคลื่อนทีไ่ ปตามทศิ ทางนั้นๆ ฯลฯ

       การระบุข้อมูลส�ำหรับอุปกรณ์นั้น อุปกรณ์ต่างๆ จะปล่อยสัญญาณเป็นค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
โดยสามารถเปล่ยี นเป็นข้อมูลเพอื่ ใช้ในการประมวลผล ตัวอย่างเชน่ การระบุถึงต�ำแหน่งในระนาบสองมิติ
สามารถระบโุ ดยระบบหลายอยา่ ง เชน่ ระบบพกิ ดั ฉาก (cartesian coordinate system) ระบบพกิ ดั เชงิ ขวั้
(polar coordinate system) เป็นต้น แต่ละอุปกรณ์มีการรับข้อมูลแบบสัมบูรณ์หรือสัมพัทธ์ ข้ึนอยู่กับ
อปุ กรณน์ นั้ ๆ จากภาพท่ี 5.3 จะเหน็ ไดว้ า่ ก) เปน็ การอา้ งองิ มมุ แบบสมั พทั ธ์ คอื การวดั มมุ จากดา้ นสองดา้ น
โดยเร่ิมจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึง่ ข) เป็นการอ้างอิงมมุ แบบสมบูรณ์ คอื การวดั มุมของด้าน โดยการ
อ้างอิงจากแกนนอน หรือ แกน X เสมอ
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25