Page 159 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 159
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 6-5
ในช่วงระหว่างที่พม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ประชาชนพม่ารวมกันเรียกร้องให้แยก
พมา่ ออกจากอินเดียโดยข้ึนตรงกับอังกฤษ ในทส่ี ดุ องั กฤษจึงออกกฎหมาย พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการปกครอง
พมา่ (The Government of Burma Act) เพ่ือจัดการปกครองใหข้ น้ึ อยู่กับอานาจขา้ หลวงขององั กฤษโดยตรง
และตามกฎหมายน้ียังแบ่งให้มีอาณาเขตปกครองชนกลุ่มน้อยเช่น กะเหร่ียง ไทยใหญ่ คะฉิ่น และฉิ่น และ
ต่อมา วันที่ 17 ตุลาคม 2490 มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญโดยอังกฤษได้มอบเอกราชให้แก่พม่าแต่ยังรักษา
สิทธิทางการทหารไว้ และจนกระทั่งวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 อังกฤษจึงได้มอบเอกราชให้แก่พม่าอย่าง
สมบูรณ์
หลงั จากท่ไี ดเ้ อกราชจากอังกฤษ พม่ากย็ งั คงประสบปญั หาแตกแยกภายในประเทศมีการสู้รบ
กับชนกลุ่มน้อยและปัญหาทางการเมือง จนในที่สุด พ.ศ. 2505 นายพลเนวินได้ทาการรัฐประหาร ปกครอง
พม่าแบบเผด็จการและปิดประเทศ ในช่วงน้ันการเมืองพม่าเปลี่ยนจากสหภาพท่ีมีหลายพรรคการเมืองไปเปน็
รัฐท่ีมีพรรคการเมืองเดียวคือพรรคโครงการสังคมนิยมพม่า ปกครองประเทศด้วยกฎอัยการศึก จนถึง พ.ศ.
2517 จึงได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญใหม่ เปลี่ยนช่ือประเทศว่าสาธารณรัฐสังคมแห่งสหภาพพม่า ในช่วง พ.ศ
2505-2530 หลังจากการรัฐประหารทาให้การพัฒนาเศรษฐกิจของพม่าหยุดชะงักจนกลายเป็นประเทศ
ด้อยพัฒนา นักลงทนุ จากตา่ งชาติตา่ งถอนตวั ออกไป การลงทุนของเอกชนโดยเฉพาะที่ไม่ใช่ของพม่าถูกยึดเป็น
ของรัฐ และเริ่มมีการประท้วงให้ใช้ระบอบหลายพรรคการเมือง ทาให้นายพลเนวินประกาศลาออกเมื่อ
23 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 ต่อมามีการประท้วงที่รุนแรงโดยเร่ิมจากกลุ่มนักศึกษาเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย
ในการเรียกร้องคร้ังน้ันทาให้ประชาชนเสียชีวิตจานวนมากจึงเรียกเหตุการณ์น้ีว่า การก่อการปฏิวัติ 8888
เนื่องจากเกิดเหตุการณ์น่องเลือดเมื่อวันท่ี 8 สิงหาคม ค.ศ. 1988 ต่อมาเดือนกันยายน พ.ศ. 2531 พรรค
โครงการสงั คมนิยมพม่าออกมาประกาศวา่ จะจดั การเลือกตง้ั หลงั ความวนุ่ วายทางการเมือง วนั ที่ 18 กนั ยายน
พ.ศ. 2531 ได้จัดตั้งสภาฟื้นฟูกฎหมายและกฎระเบียบแห่งรัฐ (State Law and Order Restoration
Council: SLORC) หรอื สลอรก์ เพ่อื ปกครองประเทศ
พ.ศ. 2532 พมา่ เปล่ยี นชอื่ ประเทศจาก พมา่ (Burma) เปน็ เมียนมาร์ (Myanmar) และสภา
ฟ้ืนฟูกฎระเบียบของชาติ (SLORC) จัดให้มีการเลือกต้ังตามระบอบประชาธิปไตยเป็นครั้งแรกในรอบ 30 ปี
รัฐบาลกาหนดให้มีการเลือกต้ังในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2533 ผลการเลือกต้ังพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพ่ือ
ประชาธิปไตยซ่ึงเป็นพรรคฝา่ ยค้านได้รบั ชัยชนะ แต่สภาสลอร์กไม่ยอมรับชัยชนะของพรรคสันนิบาตแห่งชาติ
ประชาธิปไตยและสั่งกักบริเวณนางอองซานซูจี นานาชาติสหประชาชาติ ประเทศตะวันตก ญ่ีปุ่นและประเทศ
เพื่อนบ้านตัดความช่วยเหลือทันที ในช่วงน้ันทหารกลับมาปกครองประเทศอีกครั้ง ผลจากการกดดันจาก
นานาชาติทาใหม้ กี ารเลอื กต้ังอีกครัง้ รฐั บาลชุดแรกนาโดยพลเอก เตง็ เส่ง ปกครองประเทศและเปลยี่ นช่ือจาก
“สหภาพพม่า” เปน็ “สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมยี นมาร์และไดเ้ ปลี่ยนชอื่ สภาสลอร์กเป็นสภาสนั ตภิ าพและการ
พัฒนาแห่งรัฐ (State Peace and Development Council: SPDC) ซึ่งเดิมใช้ช่ือว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและ
ระเบียบแห่งรัฐ ทั้งน้ีผลจากแรงกดดันจากภายนอกประเทศและภาวะเศรษฐกิจทาให้เมียนมาร์หันมาเปิด
ประเทศและเข้าร่วมเป็นสมาชกิ อาเซียนเมื่อ วันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 และเริ่มปฏิรปู ระบบการเงนิ และ
5