Page 158 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 158
6-4 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
ครั้งท่ีหงสาวดี โดยมะกะโทหรือพระเจ้าฟ้ารั่ว ในช่วงน้ันเป็นจุดเร่ิมต้นยุคทองของมอญ ซึ่งเป็นศูนย์กลางของ
พทุ ธศาสนานิกายเถรวาทและศูนย์กลางทางการค้าขนาดใหญ่ในเวลาตอ่ มา
หลังจากถูกรุกรานจากไทใหญ่ ชาวอังวะได้อพยพลงมาสถาปนาอาณาจักรแห่งใหม่ โดยมี
ศูนย์กลางที่เมืองตองอู ในปี พ.ศ 2074 ภายใต้การนาของพระเจ้าตะเบงชะเวตี้ (ครองราชย์ พ.ศ. 2074–
2093) ซึ่งสามารถรวบรวมพม่าเกือบทั้งหมดให้เป็นอันหน่ึงอันเดียวกันได้อีกคร้ังและต่อมาสมัยพระเจ้า
บุเรงนอง อาณาจักรตองอูสามารถยึดเมืองจากไทยฉาน เมืองหงสาวดีจากมอญและตีกรุงศรีอยุธยาแตกในปี
พ.ศ. 2112 หลังจากสมัยพระเจ้าบุเรงนอง พม่าก็อ่อนแอลงอีกคร้ังมอญที่เมืองสิเรียมและเมาะละมะได้รวมตัว
กันสามารถเขา้ ยึดเมอื งตองอู แปร และเขา้ ยึดเมืองอังวะ เมื่อ พ.ศ. 2295
ต่อมาถึงยุคล่าอาณานิคมจากประเทศตะวันตก อังกฤษและฝร่ังเศสแข่งขันกันขยายอิทธิพล
จากอินเดยี เข้าสเู่ อเชียตะวันออกเฉียงใตเ้ พ่ือหาเส้นทางการค้าไปยังจีน องั กฤษพยายามขยายอานาจในปี พ.ศ.
2367 อังกฤษเร่ิมยกทัพเรือเข้าโจมตีเมืองย่างกุ้งไปถึงเมืองแปร พม่าจึงยอมทาสนธิสัญญาสงบศึกเรียกว่า
สนธิสัญญายานดาโบ (Trety of Yandabo) ในปี พ.ศ. 2369 สงครามพม่ากับอังกฤษครั้งแรกทาให้พม่าต้อง
เสียดินแดนยะไข่ลงมาถึงพม่าตอนล่าง และดินแดนแถบตะนาวศรี เว้นแต่เมืองย่างกุ้ง เมาะตะมะที่ยังคงเป็น
ของพม่า ในการทาสงครามครั้งน้ีอังกฤษสามารถควบคุมเส้นทางการเดินเรือจากอินเดียสู่แหลมมลายูได้
แตก่ ารที่อังกฤษไม่ไดย้ ึดย่างกุ้งทาให้พมา่ สามารถคุมเส้นทางการค้าระหว่างพมา่ ตอนบนกับพม่าตอนล่างได้โดย
ผ่านแม่น้าอิระวดี ทาให้พ่อค้าชาวอังกฤษเสียผลประโยชน์ จึงทาให้ในปี พ.ศ. 2395 เกิดสงครามพม่ากับ
อังกฤษคร้ังที่ 2 สงครามครั้งน้ีพม่าเป็นฝ่ายแพ้อีกทาให้อังกฤษเข้ายึดครองดินแดนทางสามเหล่ียมปากแม่น้า
และในขณะที่อังกฤษครอบครองพม่าตอนล่างทาให้มีการพัฒนาระบบการขนส่งเพ่ิมมากข้ึน นอกจากน้ัน
อังกฤษได้ขยายพ้ืนที่เพาะปลูกในพม่าจนทาให้มีการส่งออกข้าวมากขึ้นในช่วงน้ัน หลังจากนั้นอังกฤษกับพม่า
ทาสงครามกันอีกจนในที่สุด ในปี พ.ศ. 2429 พม่าตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ นอกจากนั้นในช่วงก่อนเกิด
สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 ญี่ปุ่นได้เข้ามามีบทบาทในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และได้ติดต่อกับพวกตะข่ินซงึ่ เป็นกลมุ่
นักศึกษาหัวรุนแรง โดยมี ออง ซานนักชาตินิยมและผู้นาของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยย่างกุ้งเป็นหัวหน้า พวก
ตะขิ้นหวังว่าญ่ีปุ่นจะสนับสนุนการประกาศอิสรภาพของพม่าจากอังกฤษ แต่เม่ือญ่ีปุ่นยึดครองพม่าได้แล้ว
กลับพยายามหน่วงเหน่ียวมิให้พม่าประกาศเอกราช และได้ส่งอองซานและพวกตะขิ่นเดินทางไปญี่ปุ่นเพื่อรับ
คาแนะนาในการดาเนินการเพื่อเรียกร้องอิสรภาพจากอังกฤษ เมื่อคณะของอองซานเดินทางกลับพม่าใน พ.ศ.
2485 อองซานได้ก่อต้ัง องค์การสันนิบาตเสรีภาพแห่งประชาชนต่อต้านฟาสซิสต์ (Anti-Fascist Peoples
Freedom League : AFPFL) เพื่อต่อต้านญ่ีปุ่นอย่างลับๆ องค์การนี้ภายหลังได้กลายเป็นพรรคการเมือง ชื่อ
พรรค AFPFL และเมื่อญี่ปุ่นแพ้สงครามโลกคร้ังที่ 2 แล้ว อองซานและพรรค AFPFL ได้เจรจากับอังกฤษโดย
อังกฤษยืนยันท่ีจะให้พม่ามีอิสรภาพปกครองตนเองภายใต้เครือจักรภพ และมขี ้าหลวงใหญ่อังกฤษประจาพม่า
ให้คาปรึกษา แต่อองซานต้องการเอกราชอย่างสมบูรณ์ อังกฤษจึงได้พยายามสนับสนุนพรรคการเมืองอ่ืน ๆ
ข้ึนแขง่ อานาจกบั พรรค AFPFL ของอองซานแตไ่ ม่เปน็ ผลสาเรจ็ จึงยินยอมใหพ้ รรค AFPFL ขน้ึ บริหารประเทศ
โดยมีอองซานเปน็ หวั หน้า
4