Page 169 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 169
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 6-15
ตัวอักษรพมา่
ทม่ี า: http://www.anantasook.com/wp-content/uploads/2015/03/Myanmar-alphabet.jpg
จานวนนบั เลข ท่ีมา: http://www.anantasook.com/myanmar-alphabet/
นอกจากภาษาพม่าเป็นภาษาทางการแล้ว ยังมีภาษาหลักที่ใช้งานในประเทศอีก 18 ภาษาโดยแบ่ง
ตามตระกูลภาษาได้ดงั นี้
- ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก ได้แก่ ภาษามอญ ภาษาปะหล่อง ภาษาปะลัง (ปลัง) ภาษาปะ
รวก และภาษาว้า
- ตระกูลภาษาซิโน-ทิเบตัน ได้แก่ ภาษาพม่า (ภาษาทางการ) ภาษากะเหร่ียง ภาษาอารากัน
(ยะไข่) ภาษาจงิ ผ่อ (กะฉิน่ ) และ ภาษาอาข่า
- ตระกูลภาษาไท-กะได ได้แก่ ภาษาไทใหญ่ (ฉาน) ภาษาไทลอ้ื ภาษาไทขึน ภาษาไทคาต่ี มีผ้พู ูด
หนาแน่นในรัฐฉาน และรัฐกะฉ่ิน ส่วนภาษาไทยถ่ินใต้ภาษาไทยกลาง และภาษาไทยถิ่นอีสาน มีผู้พูดในเขต
ตะนาวศรี
- ตระกูลภาษาม้ง-เมีย่ น ได้แก่ ภาษามง้ และภาษาเย้า (เมย่ี น)
- ตระกลู ภาษาออสโตรนีเชียน ได้แก่ ภาษามอเกนและภาษามาเลย์ ในเขตตะนาวศรี
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางเชื้อชาติจึงทาให้มีความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี นอกจากนั้นการท่ีเมียนมาร์มีอาณาเขตติดต่อกับอินเดีย
จีน และไทยจึงได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดีย จีน และไทยมาด้วย อย่างไรก็ตามเมียนมาร์ก็ยังมีอัต
ลกั ษณ์ของตน เชน่ การแตง่ กาย ชุดเครื่องแตง่ กายประจาชาติเมียนมาร์