Page 335 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 335

โครงกา2รบ1ริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559    11-21

          1. กลุมชนท่ีอาศัยอยูบนเกาะชวาและบาหลีซ่ึงศรัทธาในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธจึงมี
วัฒนธรรมท่ีเนนในเร่ืองคุณคาทางจิตใจและสังคม มีการพัฒนาศิลปะท่ีอิงแอบกับศาสนาโดยเฉพาะ
นาฏศิลปและดรุ ิยางคศิลป มกี ารปฏบิ ัตติ ามหลกั จริยธรรมของศาสนาและเคารพบคุ คลตามฐานะ

          2. กลุมชนที่อาศยั ตามริมฝงทะเลตามเกาะตางๆ ประกอบอาชพี คาขาย รปู แบบวัฒนธรรม
ไดรับอิทธิพลจากหลักคําสอนของศาสนาอิสลาม กลุมน้ีเปนนักธุรกิจในสังคมอินโดนีเซียยุคใหม และ
ไดรับการยกยองเปนผรู ทู างศาสนาและกฎหมาย

          3. กลุมที่ยงั มีความลาหลังไดแก ผูที่อาศัยตามบรเิ วณเทือกเขาในสวนลึกของประเทศดํารง
ชพี ดวยการลาสัตว ทําการเกษตรซึ่งรัฐบาลอินโดนีเซียพยายามเขาไปปรับปรุงคุณภาพชีวิตของคนกลุมน้ี
ใหดีข้นึ

ที่มา : วิกิพเี ดีย สารานกุ รมเสรี, 4 มกราคม 2560

      ภาษา ภาษาพ้ืนเมืองมีมากกวา 583 ภาษา มีภาษาทองถ่ินที่มีคนพูดไดเกิน 1 ลานคนถึง
13 ภาษา ภาษาทีม่ ีคนพูดมากทส่ี ดุ ไดแก ภาษาชวา (รอ ยละ 45) ภาษาซุนดานิส (รอ ยละ 14) ภาษาดู
ริส (รอยละ 7.5) ภาษาโคสทัลมาเล (รอยละ 7.5) และภาษาอ่ืนๆ อกี รอยละ 26 แตภาษาราชการและ
ท่ีชาวอินโดนีเซียใชเปนสวนใหญคือ ภาษาบาฮาซา อินโดนีเซีย ซ่ึงดัดแปลงมาจากภาษามาเลย และ
หยิบยืมคําศัพทมาจากภาษาตางๆ เชน ภาษาสันสกฤต ภาษาอาหรับ ภาษาเปอรเซีย ภาษาฮิบรู
ภาษาดัตซ ภาษาโปรตุเกส ภาษาจนี และภาษาตระกลู ออสโตรนเี ซียน
   330   331   332   333   334   335   336   337   338   339   340