Page 336 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 336

11-22	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซ2ีย2น

      การทักทาย โดยปกติใชว ิธจี ับมือกนั เหมอื นชาวตะวนั ตก ถา เปนการทักทายระหวา งสตรีดวยกัน
จะจับมือพรอมทั้งแนบแกมชนกัน การทักทายอีกแบบไดแกการใชปลายนิ้วสัมผัสกัน เพ่ือแสดงความ
เคารพเรียกวา สลาม (Salam) สําหรับผูอาวุโสนอยกวากับผูอาวุโสมากกวาตองทําสลามแบบเด็กตอ
ผใู หญ กลาวคือ การจับมือแลวกมศีรษะลงเอาแกมหรือจมูกสัมผัสหลังมือของผูใหญเรียกการสลามแบบ
นว้ี าสาลิม (Salim) การทักทายที่มกั พบในเมืองปอนติอานักคือ ใชวิธีจับมือท้ังสองขาง เมื่อดึงมือกลับจะ
นํามาแตะตรงบริเวณหนาอกดานซาย ถาผูชายบางคนเมื่อจับมือแลวเปลี่ยนเปนลักษณะงัดขอ แลว
กลับไปจับในลักษณะปกติกอนดึงมือกลับมาแตะท่ีหนาอกดานซายจะหมายถึงการแสดงความสนิทสนม
ระหวางกัน สวนคําทักทายท่ีนิยมอีกแบบคือการทักทายแบบมุสลิมโดยกลาวคําวาอัสลามมุ อะลัยกุม
แปลวา ขอความสันติสุขจงมแี ดทาน แลว ผูรบั คําทักทายจะตอบกลับวา วะอะลัยกมุ สงาม แปลวา ขอ
ความสันติสขุ จงมีแดท านเชน กนั

      ศาสนาอิสลามมอี ิทธพิ ลตอการดําเนินชีวติ ของชาวอินโดนีเซียมาก เชน แนวคดิ วาผูชายตองเปน
ผูนํา เปนหัวหนาครอบครัว เปนผูเลือกถิ่นที่อยู เปนผูรับผิดชอบตอความทุกขสุขของครอบครัว และ
เปนผสู ืบสกุล ดังนน้ั ศาสนาอิสลามจึงหามเดด็ ขาดมิใหผ ูหญิงมสุ ลิมแตงงานกบั คนในศาสนาอื่นโดยผูฝา ฝน
จะถูกขับไลออกจากสังคมอิสลามและทําใหผูหญิงมุสลิมในอินโดนีเซียถูกจํากัดสิทธิตางๆ และเกิดความ
พยายามเพ่ือเรียกรองสิทธ์ขิ องสตรีผา นทางสภาผแู ทนราษฎร

ท่มี า : www.asean-infor.com, 4 มกราคม 2560
   331   332   333   334   335   336   337   338   339   340   341