Page 35 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 35
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 1-17
17
SACU ประกอบด้วยประเทศสมาชิก 5 ประเทศ คือ แอฟริกาใต้ บอตสวานา ลาโซโท นามิเบีย
และสวาซิแลนด์ โดยมีประเทศแอฟริกาใต้เป็นศูนย์กลาง ความเป็นมาของแนวความคิดในการรวมกลุ่ม SACU
เน่ืองจากประเทศบอตสวานา เลโซโท และสวาซิแลนด์ ไม่มีทางออกสู่ทะเล การทาการค้ากับประเทศอ่ืนๆ
จาเป็นตอ้ งอาศัยท่าเรอื ของประเทศแอฟรกิ าใตเ้ ป็นทางผา่ น สาหรบั สาระสาคญั ของความตกลงในการรวมกลุ่ม
คือ ประเทศสมาชิกจะไม่เก็บภาษีสินค้าท่ีผลิตในกลุ่มและสามารถเคลื่อนย้ายสินค้าเข้าออกระหว่างประเทศ
สมาชกิ ได้อย่างเสรี ส่วนสินค้านาเขา้ จากประเทศนอกกลุ่มจะนาเขา้ ท่เี มืองท่าของประเทศสมาชกิ ใดก็ได้ ซึง่ จะ
มีการจัดเก็บภาษี ณ เมืองเท่านั้น และส่งรายได้ท้ังหมดเข้าไปที่ South Africa’ National Revenue Fund
จากนั้นก็นามาจัดสรรกันในกลุ่มอย่างเสมอภาคและยุติธรรม อย่างไรก็ตามนโยบายควบคุมสินค้านาเข้าและ
ส่งออก มาตรการ SPS และภาษีภายในประเทศยังคงมีความแตกต่างในระหวา่ งประเทศสมาชกิ ด้วยกนั
4. ตลาดร่วม (Common Market: CM) เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่พัฒนาจาก Custom
Union แต่มีความก้าวหน้ามากกว่า Custom Union หน่ึงระดับ กล่าวคือนอกจากเคลื่อนย้ายสินค้าโดยเสรี
แล้ว ยังสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิตอ่ืนๆ เช่น แรงงานและเงินทุนได้อย่างเสรีด้วย ตลาดร่วมที่ประสบ
ความสาเร็จในการรวมกลุ่มระหว่างประเทศท่ีกาลังพัฒนาด้วยกัน คือ เมอร์โคซูร์ (MERCOSUR) ซ่ึงย่อมาจาก
คาว่า Mercado Comun del Sur เป็นภาษาสเปน แปลว่า ตลาดรว่ มแห่งอเมริกาใต้
MERCOSUR ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2534 มีสมาชิก 5 ประเทศ คือ บราซิล อาร์เจนตินา ปารากวัย
อรุ กุ วัย และเวเนซเุ อลา มีสมาชิกสมทบ (Associate Members) อีก 5 ประเทศ คอื โบลิเวีย ชลิ ี เปรู โคลมั เบยี
และเอกวาดอร์ สานกั งานใหญ่อยูท่ ่ีเมอื งมอนเตวิเดโอ ประเทศอุรุกวัย
วตั ถุประสงค์ของการจัดตง้ั MERCOSUR
1) ให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และปัจจัยการผลิตอย่างเสรี โดยยกเลิกภาษีระหว่างกัน
และยกเลิกมาตรการทไ่ี มใ่ ชภ่ าษี
2) ใหเ้ กบ็ ภาษนี าเข้าจากประเทศนอกกลุม่ ในอัตราเดียวกนั และมนี โยบายการค้าเหมอื นกนั
3) ร่วมมือกันกาหนดนโยบายเศรษฐกจิ มหภาคให้เหมือนกัน และมีนโยบายการค้าเหมอื นกัน
4) มงุ่ สูก่ ารเป็นตลาดรว่ มเดียวกนั ซึง่ รวมถงึ การเคลอื่ นย้ายแรงงานและเงนิ ทุนอย่างเสรี
ระบบภาษีของ MERCOSUR เป็นระบบการเก็บภาษีต่อประเทศนอกกลุ่มในอัตราเดียวกัน CET ซึ่ง
กาหนดให้เร่ิมใช้ต้ังแต่วันท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2538 โดยมีอัตราอยู่ระหว่างร้อยละ 0-20 ครอบคลุมสินค้าของ
ประเทศสมาชิกประมาณร้อยละ 85 ของรายการสินค้าท้ังหมด และสินค้าบางรายการของแต่ละประเทศ
สมาชิก สามารถกาหนดรายการสินค้าของตนเองทเี่ ปน็ ข้อยกเวน้ ไมใ่ ช่ CET ท่ีแตกต่างกนั ได้