Page 32 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 32
1-14 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน14
มัน่ คงของภมู ภิ าค จึงมีการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกจิ โดยรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนได้ลงนามในความ
ตกลงว่าด้วยสิทธิพิเศษทางการค้าอาเซียน ASEAN PTA (PTA: Preferential Trading Arrangements) ซึ่ง
เป็นการให้สิทธิพิเศษตามความสมัครใจโดยแลกเปล่ียนสินค้ากับสินค้า สิทธิพิเศษ ส่วนใหญ่เป็นการลดภาษี
ศุลกากรขาเข้า และผกู พันอัตราอากรขาเขา้ ณ อัตราที่เรียกเก็บอยู่
2. เขตการค้าเสรี (Free Trade Area: FTA) เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจท้ังแบบทวิภาคีและ
พหุภาคีท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มให้เหลือน้อยท่ีสุดหรือเป็น 0 และใช้อัตรา
ภาษีปกติกับประเทศนอกกลุ่ม รวมท้ังลดอุปสรรคทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษีศุลกากร การทา FTA ในอดีตมุ่งเน้น
ในด้านการค้าสินค้าเพียงด้านเดียว แต่ในปัจจุบันการเปิดเสรีครอบคลุมไปถึงด้านการค้าบริการและด้านการ
ลงทุนด้วย นอกจากนี้ FTA ยังถือเป็นเครื่องมือสาคัญทางการค้าท่ีประเทศต่างๆ ใช้เพื่อขยายโอกาสในการค้า
สร้างพันธมิตรทางเศรษฐกิจ พร้อมๆ กับเพิ่มความขีดความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของตน เน่ืองจาก
สินค้าท่ีผลิตใน FTA จะถูกเก็บภาษีขาเข้าในอัตราท่ีต่ากว่าสินค้าที่ผลิตจากประเทศอ่ืนๆ ท่ีไม่ใช่สมาชิก FTA
จึงทาใหส้ ินคา้ ที่ผลิตภายในกลุ่ม ไดเ้ ปรียบกวา่ ในดา้ นราคาสนิ ค้าจากประเทศนอกกลุ่มปัจจุบันการเจรจาความ
ตกลง FTA ของประเทศต่างๆ ได้เพิม่ ข้ึนอย่างชัดเจน จากสถิตขิ อง WTO พบว่าสมาชกิ WTO ได้บรรลุผลการ
เจรจาความตกลง FTA เป็นจานวนถึง 380 ความตกลง และคาดว่าในปี พ.ศ. 2553 จะมีความตกลงถึง 400
ความตกลง
รูปแบบของการทา FTA ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว ลักษณะจะเป็นอย่างไรขึ้นอยู่กับประเทศคู่สัญญา โดย
พื้นฐานจะมีลักษณะเหมือนกันตามท่ี WTO กาหนดเพื่อปกป้องและป้องกันผลกระทบของ FTA ท่ีจะมีต่อ
ประเทศอ่ืนๆ ท่ีไมใ่ ชส่ มาชิกของ FTA นน้ั ๆ ซ่งึ ขอ้ กาหนดมอี ยู่ 3 ประการ คือ
1) มีวัตถุประสงค์เพื่ออานวยความสะดวกทางการค้า และไม่สร้างอุปสรรคทางการค้าเพิ่มต่อ
ประเทศอื่นท่ไี ม่ใชส่ มาชิก (No Fortress Effects)
2) ครอบคลุมการคา้ ระหวา่ งประเทศมากพอ (Substantial Coverage)
3) มีตารางการลดภาษี หรือเปิดเสรีให้แล้วเสร็จภายใน 10 ปี โดยยืดหยุ่นได้หากมีเหตุผลท่ี
สมควร
เขตการคา้ เสรที ีด่ คี วรมรี ปู แบบดังนี้
1) ทากรอบให้กว้าง (Comprehensive) เพ่ือให้ได้รับประโยชน์ทั้งสองฝ่าย (Win - Win) การ
เจรจาทาความตกลงจัดตั้งเขตการค้าเสรีมีขอบเขตกว้างขวาง ครอบคลุมความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจทุกสาขา
ท้ังการเปิดเสรีทางการค้าสินค้า บริการ การลงทุน และการขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจอื่นๆ โดย
กาหนดใหม้ คี วามยืดหยุ่นมากขนึ้ ตลอดจนประสานแนวนโยบายและพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์