Page 28 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 28
1-10 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน10
ประเทศท่ีอยู่ในช่วงเวลาแรก และ 14 ประเทศในช่วงเวลาที่สอง อันได้แก่ ประเทศอาเจนติน่า บังคลาเทศ บู
รันดี สหภาพโดมนิ ิกัน เอธโิ อเปยี กานา่ อนิ เดยี เปรู ซดู าน แทนซาเนีย และแซมเบยี เปน็ ประเทศทอ่ี ย่ใู นกลุ่ม
สุดท้ายนี้ทั้งสองช่วงเวลา ซ่ึงน่าสังเกตว่าประเทศในแอฟริกาและลาตินอเมริกา มีสัดส่วนค่อนข้างสูงในกลุ่ม
ประเทศทีเ่ น้นการมองตลาดภายในประเทศ
นอกจากน้ี งานวิจัยดังกล่าวยังได้มีการระบุอย่างชัดเจนว่าสัมฤทธิผลในภาพรวมของกลุ่มประเทศท่ี
เน้นการมองตลาดภายนอก (SO และ MO) จะมีการพัฒนามากกว่าของกลุ่มประเทศท่ีเน้นการมองตลาด
ภายใน (SI และ MI) แทบทุกด้าน ตัวอย่างเช่น เม่ือพิจารณาจากอัตราการเจริญเติบโตโดยเฉลี่ยของมูลค่าของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศท่ีแท้จริง real GDP พบว่าในช่วง ค.ศ. 1963-1973 อัตราการเติบโต
เรียงลาดับจากสูงไปต่าเป็นดังนี้คือ SO > MO > MI > SI สาหรับช่วง ค.ศ. 1973-1985 พบว่าอัตราการ
เตบิ โตของกลุ่ม MI สงู กว่าของกลุ่ม MO เล็กนอ้ ย ส่วนทเ่ี หลอื ยังคงเรยี งลาดับเช่นเดมิ เม่อื พิจารณาจากอัตรา
การเติบโตของ GNP ต่อหัว พบว่าในช่วง ค.ศ. 1963-1973 กลุ่ม SO มีอัตราการเติบโตเฉล่ีย 6.9 เปอร์เซ็นต์
เทียบกับ 6.1 เปอร์เซ็นต์ ของกลุ่ม SI ส่วนในช่วง ค.ศ. 1973-1985 กลุ่ม SO มีอัตราการเติบโตเฉล่ีย 5.9
เปอร์เซ็นต์ เทียบกับ -0.1 เปอร์เซ็นต์ ของกลุ่ม SI ทางด้านเปอร์เซ็นต์ของการออมเทียบกับ GDP พบว่ากลุ่ม
ประเทศที่เน้นการมองตลาดภายนอกท้ังสองกลุ่มมีอัตราการออมที่สูงกว่าเฉพาะในช่วงเวลาที่สอง และอัตรา
การเติบโตของการสง่ ออกสินค้าอุตสาหกรรมในทั้งสองช่วงเวลาของกล่มุ ประเทศท่ีเน้นการมองตลาดภายนอก
ทั้งสองกลุ่ม ก็สูงกว่าของกลุ่มประเทศที่เน้นการมองตลาดภายในท้ังสองกลุ่มเช่นกัน นอกจากน้ีประสิทธิภาพ
ของการใช้ปัจจัยทนุ (วดั จากจานวนปจั จัยทุนท่จี าเป็นในการสร้างผลผลติ ให้เพิม่ ขึ้น) ในกลมุ่ ประเทศทีเ่ น้นการ
มองตลาดภายนอก กย็ ังสงู กวา่ ของกล่มุ ประเทศทเี่ นน้ การมองตลาดภายในอีกดว้ ย
อย่างไรก็ตาม สาหรับสัมฤทธิ์ผลในการกากับดูแลเงินเฟ้อกลับพบว่าเงินเฟ้อของทุกกลุ่มไม่มีความ
แตกต่างกันมากนัก ในช่วง ค.ศ. 1963-1973 แต่กลุ่ม MO มีอัตราเงินเฟ้อท่ีสูงท่ีสุดใน ช่วง ค.ศ. 1973-1985
และอัตราเงินเฟ้อของกลุ่มประเทศที่เน้นการมองตลาดภายนอกมีค่าเฉล่ียสูงกว่าของกลุ่มประเทศท่ีเน้นการ
มองตลาดภายใน ซึ่งทางธนาคารโลกให้การอธิบายว่าเป็นเพราะกลุ่มประเทศที่เน้นการมองตลาดภายนอกมี
เศรษฐกิจที่ผูกพันกับเศรษฐกิจโลกมากกว่า ดังนั้นจึงมีอัตราเงินเฟ้อสูง ตามอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยของเศรษฐกิจ
โลกไปด้วย
นอกเหนือจากข้อค้นพบข้างต้นแล้ว ธนาคารโลกยังให้ความเห็นเพ่ิมเติมว่า กลยุทธ์ที่เน้นการมอง
ตลาดภายนอกจะมีสว่ นชว่ ยใหก้ ารกระจายรายได้มีความเท่าเทียมมากขนึ้ กวา่ กลยุทธเ์ น้นการมองตลาดภายใน
เนอ่ื งจากประเทศกาลังพัฒนามักมีความไดเ้ ปรยี บโดยเปรียบเทียบในสินค้าท่ีเนน้ การใช้แรงงานเข้มข้น กลยทุ ธ์
เน้นการมองตลาดภายนอกจะส่งเสริมให้มีการเปิดการค้า ซึ่งจะทาให้สาขาการผลิตดังกล่าวขยายตัว ทาให้เกิด
การจ้างงานที่สูงข้ึน และช่วยให้แรงงานมีรายได้สูงขึ้นด้วย ในทางกลับกันกลยุทธ์เน้นการมองตลาดภายใน
มักจะเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้ปัจจัยทุนเข้มข้น ทดแทนแรงงาน ทาให้แรงงานมีรายได้ลดลง
ผลประโยชน์อีกประการหนึ่งของกลยุทธ์เน้นการมองตลาดภายนอกก็คือ ประเทศที่ใช้กลยุทธ์นี้มักไม่ประสบ
กับปัญหาการขาดแคลนเงนิ ตา่ งระหว่างประเทศ ในขณะท่ีการใชก้ ลยทุ ธเ์ น้นการมองตลาดภายใน อาจชว่ ยให้