Page 23 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 23
โครงการบริการวิชาการแก่สังคมโดยงบประมาณแผ่นดิน ประจำ�ปี 2559 1-5
5
(Gains from trade) ท่ีมาจากผลได้จากการผลิตเฉพาะทาง (Gain from specialization) มีขนาดลดลง
อย่างไรก็ตามผลได้ทางการค้าก็ยังคงมีอยู่จาก ผลได้ของการแลกเปลี่ยนสินค้า (Gain from exchange)
นอกจากน้ีการราคานาเข้าท่ีถูกลงของปัจจัยทุนและสินค้าท่ีเป็นปัจจัยการผลิตขั้นกลาง จะช่วยเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต และลดผลของความไม่คล่องตัวในการเคล่ือนย้ายปัจจัยในระยะสั้นท่ีกล่าวถึงแล้วได้
ระดบั หนึ่ง
จากคาทานายของทฤษฎกี ารเท่ากันของราคาปจั จัย (Factor-prices equalization) ท่เี ปน็ ผลสบื เนอ่ื ง
ของการคา้ แบบเฮกเชอรโ์ อลนิ นั้น ชใี้ หเ้ หน็ ว่าประเทศกาลังพัฒนาที่มีแรงงานเหลือเฟือ ควรจะมคี า่ แรงที่สูงขึ้น
จากการขยายการผลิตสินค้าท่ีใช้แรงงานเข้มข้น (Labor-intensive products) เนื่องจากการเพิ่มข้ึนของการ
ผลิตสินค้าเหล่าน้ีจะทาให้อุปสงค์ต่อแรงงานสูงขึ้น อย่างไรก็ตาม ประเทศเหล่านี้ก็มักมีปัญหาการว่างงานท่ี
รนุ แรงด้วย ดังนัน้ แรงกดดนั ของอุปสงค์ต่อแรงงานทเ่ี พ่ิมข้ึน จึงมกั สง่ ผลตอ่ คา่ แรงน้อยมาก
นอกจากนี้การเน้นการผลิตในสินค้าการเกษตร และสินค้าขั้นต้นของประเทศกาลังพัฒนายังอาจ
นาไปสู่ความไม่มเี สถยี รภาพทางรายได้ เน่ืองจากสนิ คา้ เหลา่ นีม้ กั มคี ่าความยืดหยุน่ ของอุปสงคต์ ่อราคา และต่อ
รายได้ที่ต่า ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาที่ต่าทาให้รายได้ลดลงเม่ือผลผลิตรวมเพิ่มขึ้น ในขณะท่ีความ
ยดื หยุน่ ของอุปสงคต์ ่อรายไดท้ ่ีต่าทาให้ตลาดของสินคา้ เกษตรเติบโตช้ากว่าของสนิ ค้าอุตสาหกรรม นอกจากน้ี
อุปทานของสนิ ค้าเกษตรก็ยงั ข้นึ อยู่กบั สภาพฤดกู าลท่ีไม่ค่อยมีเสถียรภาพเป็นส่วนใหญ่อกี ดว้ ย
ปัญหาอีกประการก็คือ ในกรณีที่ประเทศกาลังพัฒนาเป็นผู้ส่งออกรายใหญ่ในตลาดโลกสาหรับสินคา้
ดังกล่าว การเพิ่มอุปทานของสินค้าจะทาให้ราคาของสินค้าลดลง และอาจนาไปสู่การถดถอยของอัตราการคา้
(Terms of trade) ที่ทาใหผ้ ลไดจ้ ากการคา้ เชงิ สถติ ลดลง และทาใหก้ ารกระจายผลไดท้ างการค้าเออ้ื ประโยชน์
กับประเทศทพ่ี ัฒนาแล้วทผ่ี ลิตสินค้าอตุ สาหกรรมมากกวา่ ประเทศของตน
การเน้นการผลิตสินค้าที่ใช้แรงงานเข้มข้น โดยที่ต้องพ่ึงประเทศอุตสาหกรรมในการป้อนปัจจัยการ
ผลิตที่ใช้แรงงานทักษะสูงและปัจจัยทุนนั้น ก็อาจนาไปสู่ปัญหาของการที่ไม่สามารถพ่ึงพาตนเอง หรือขาด
ความเป็นอิสระทางเศรษฐกิจ (Economic dependency) ทาให้สถานะทางเศรษฐกิจต้องพึ่งพิงอยู่กับ
เศรษฐกิจของประเทศอตุ สาหกรรมขนาดใหญอ่ ีกดว้ ย
กล่าวโดยสรุป จะเห็นได้ว่าจากปัญหาความไม่คล่องตัวของระบบเศรษฐกิจแบบด้ังเดิม และรูปแบบ
ความได้เปรยี บโดยเปรียบเทียบของประเทศกาลังพัฒนาท่ีมักมีความได้เปรียบในสินคา้ ทีเ่ น้นการใช้แรงงานเป็น
หลัก ทาให้ผลได้ทางการค้าเชิงสถิตจากการเปิดเสรีการค้ามีขนาดท่ีเล็กกว่าของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมที่มี
ความคล่องตัวในการปรับเปล่ียนมากกว่า ผลได้ดังกล่าวยังอาจถูกลดทอนลงไปอีกจากปัญหาความไม่มี
เสถียรภาพทางรายได้ การขาดความเป็นอิสระทางเศรษฐกจิ และการถดถอยของอตั ราการค้าอีกด้วย
1.1.2 ผลกระทบเชงิ พลวัตของการคา้ ระหว่างประเทศต่อการพัฒนา
ผลได้ทางการค้าจากการที่ประเทศเปิดการค้าเสรีน้ัน น่าจะทาให้ประเทศมีศักยภาพสูงที่สุดในการ
พัฒนาเศรษฐกจิ จากผลกระทบเชิงพลวตั (Dynamic effects) ในประการแรก การค้าเสรจี ะชว่ ยเพ่ิมขนาดของ