Page 24 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 24

1-6	 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน6

ตลาดที่เคยถูกจากัดด้วยขนาดของเศรษฐกิจภายในประเทศแต่เพียงแหล่งเดียวให้มีขนาดใหญ่ข้ึน ทาให้
กระบวนการผลิตมีความประหยัดจากขนาดการผลิต (Economies of scale) ซึ่งจะไม่สามารถเกิดข้ึนได้ด้วย
ตลาดขนาดเลก็ ประการท่สี อง การคา้ ระหว่างประเทศยังอาจช่วยบ่มเพาะพฒั นาการของอุตสาหกรรมเกิดใหม่
(Infant industry) ใหก้ ลายเป็นอตุ สาหกรรมที่แข่งขันได้ในตลาดโลกด้วยการช่วยขยายขนาดของตลาด แม้วา่
การใช้นโยบายดังกล่าวอาจนาไปสู่ปัญหาอ่ืนในทางปฏบิ ัติ ท่ีจะไดก้ ล่าวถงึ ในหวั ข้อต่อไป ประการสุดทา้ ย การ
เปิดการค้าเสรียังส่งผลดีต่อการแข่งขันทาให้ผู้ผูกขาดท้องถ่ินต้องปรับตัว และอาจช่วยในการเพ่ิมการ
แพร่กระจายเทคโนโลยีไปสู่ประเทศกาลังพัฒนาผ่านกระบวนการของวัฏจักรชีวิตของสินค้า (Product-life
cycle) ซึ่งมีการเคลื่อนย้ายฐานการผลิตไปสู่ประเทศกาลังพัฒนาและมีการนาพาเทคโนโลยีการผลิตและการ
บรหิ ารที่ทันสมัยไปดว้ ย

      ในทางตรงกันข้าม การเปิดการค้าเสรกี ็อาจก่อให้เกิดผลกระทบท่ีไม่พึงประสงค์ในระยะยาวได้เช่นกัน
อันเป็นผลมาจากข้อสมมุติที่ไม่เหมาะสมของทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผลได้ทางการค้าเชิงสถิต เช่น สมมุติ
โครงสร้างตลาดแข่งขันสมบูรณ์ แต่โครงสร้างตลาดในประเทศกาลังพัฒนามักมีลักษณะแข่งขันไม่สมบูรณ์ ซึ่ง
ทาให้ตน้ ทุนและผลประโยชนข์ องเอกชนแตกตา่ งจากต้นทนุ และผลประโยชน์ของสงั คม ราคาตลาดของเอกชน
ในโครงสร้างตลาดแบบน้ีอาจไม่นาไปสู่ความกินดอี ยู่ดีและความเจริญเติบโตของประเทศโดยรวม ตัวอย่างเช่น
การเติบโตของอุตสาหกรรมเอกชนอาจทาให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรมลงอย่างรุนแรง นอกจากนี้ผลกระทบ
ของการเจริญเติบโตในภาคการส่งออกของแต่ละสาขาก็อาจแตกต่างกันไป นอกจากนี้ การผลิตบางสาขา เชน่
อุตสาหกรรมที่เป็นสินค้าข้ันต้นอาศัยทรัพยากรธรรมชาติและต้องพ่ึงปัจจัยทุนและทักษะจากต่างประเทศเปน็
หลัก ย่อมก่อให้เกิดการจ้างงานได้ไม่มาก และสร้างผลกระทบท่ีเช่ือมโยงไปยังการผลิตระดับต้นน้าและปลาย
นา้ (Upstream and downstream linkages) เพียงเลก็ น้อยเท่าน้ัน

      จากตัวอย่างความสาเร็จของประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ทาให้ประเทศกาลังพัฒนาจานวนมากต่างได้รับ
อิทธิพลจากความเช่ือท่ีว่า กุญแจแห่งความสาเร็จในการพัฒนาประเทศก็คือการสร้างภาคอุตสาหกรรมให้
เข้มแขง็ และความเข้มแข็งดังกลา่ วจะต้องทาด้วยการปกป้องอตุ สาหกรรมภายในประเทศจากการแข่งขันจาก
ต่างประเทศ นั่นคือการมองตลาดภายในประเทศเป็นหลัก ในขณะที่ประเทศกาลังพัฒนาอีกกลุ่มหนึ่งกลับมี
ความเห็นว่าควรเน้นท่ีตลาดภายนอกประเทศ โดยประเทศจะต้องพยายามผลติ สินค้าให้สอดคล้องกับลักษณะ
ของความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Pattern of comparative advantage) ของประเทศ และเช่ือว่า
สัญญาณราคาท่ีถูกต้องจากตลาดโลกจะนาไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ นอกจากน้ี ประเทศกาลัง
พัฒนาบางกลุ่มยังมีความเช่ือที่เก่ียวกับการเน้นตลาดภายนอกที่มากกว่ากว่าการผลิตตามความได้เปรียบโดย
เปรียบเทยี บ แตค่ วรเนน้ ตลาดสง่ ออกด้วยการใช้นโยบายส่งเสรมิ การสง่ ออก
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29