Page 22 - โครงการผลิตหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
P. 22
1-4 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน4
ประการที่สอง ประเทศ LDC มักส่งออกสินค้าขั้นต้น (primary commodities) เป็นหลัก โดยเฉล่ีย
แล้วสินค้าขั้นต้นที่ยังไม่ได้มีการแปรรูปของกลุ่มประเทศ LDC มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 62 ของการส่งออก
สินค้าท้ังหมดและท่ีมีการแปรรูปแล้วมีสัดส่วนอีกประมาณร้อยละ 8 อย่างไรก็ตาม หากดูในรายละเอียดก็จะ
พบวา่ หลายประเทศเริ่มทจ่ี ะมีปรับสัดส่วนการส่งออกของตนไปสูส่ นิ ค้าอตุ สาหกรรมมากขน้ึ ๆ
ประการที่สาม สัดส่วนการค้าระหว่างประเทศของประเทศ LDC มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับ
ตลาดโลกคือประมาณร้อยละ 0.5 และยังมีแนวโน้มลดลง ซ่ึงเป็นจริงในสาขาท่ีเป็นสินค้าขั้นต้นและไม่ใช่
นา้ มัน แต่สาหรับนา้ มัน สินค้าอตุ สาหกรรมและบรกิ าร สดั ส่วนดงั กล่าวกลับมีแนวโนม้ เพิม่ ข้ึน
ประการสุดท้าย ประเทศ LDC มกั มีนโยบายการคา้ ท่ีคอ่ นขา้ งปิดประเทศ โดยเฉพาะกอ่ นช่วงทศวรรษ
ท่ี 1980 แต่แนวโน้มก็เร่ิมดีข้ึนมาตั้งแต่ทศวรรษที่ 1990 อย่างไรก็ตาม งานวิจัยของ UNCTAD ได้ท้าทายต่อ
ความเชือ่ เดิมท่วี า่ ความยากจนของกลุ่มประเทศ LDC เกดิ จากการทป่ี ระเทศเหล่านมี้ สี ัดส่วนการเปดิ ประเทศท่ี
ต่า โดยพบว่าประเทศ LDC จานวนมากได้มกี ารเปดิ ประเทศมากข้ึนโดยท่ีมิได้ทาให้ระดบั ความยากจนของตน
ลดลง ที่จริงแล้วกลับพบว่าประเทศท่ีใช้นโยบายการปิดประเทศและเปิดประเทศในสัดส่วนที่สูง ต่างประสพ
ปัญหาความยากจนเพ่ิมข้ึน การลดลงของความยากจนกลับเกิดข้ึนในกลุ่มประเทศท่ีใช้นโยบายการเปิด
ประเทศในระดับปานกลาง ซึ่งทาให้สรุปได้ว่าการเปิดการค้าเสรีนั้นน่าจะช่วยลดความยากจนในระยะยาว
ส่วนผลประโยชน์ในระยะส้ันนนั้ จะขึ้นอยู่กบั การใช้มาตรการทมี่ าประกอบกบั การเปิดเสรีท่ีชว่ ยชดเชยต้นทุนใน
การปรบั ตวั ของการเปดิ เสรี
ข้อมูลเชิงประจักษ์ดังกล่าว ชี้ให้เห็นว่านโยบายการค้าระหว่างประเทศน่าจะมีอิทธิพลต่อระดับการ
พัฒนาประเทศ ซ่ึงสามารถแบ่งผลกระทบของการค้าระหวา่ งประเทศในเชิงทฤษฎีต่อการพัฒนาทางเศรษฐกจิ
ไดด้ งั นี้
1.1.1 ผลกระทบเชงิ สถติ ของการคา้ ระหว่างประเทศต่อการพฒั นา
ผลกระทบเชิงสถิต (Static effects) น้ันเกิดจากผลได้ทางการค้า (Gains from trade) ท่ีได้มีการ
กล่าวถึงแล้วจากทฤษฎีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ (Comparative advantage) เน่ืองจากความแตกต่าง
ในราคาเปรียบเทียบของแต่ละประเทศ ท้ังจากสาเหตุของความแตกต่างทางเทคโนโลยีในทฤษฎีของริคาร์โด
หรือความแตกตา่ งในสดั สว่ นของปัจจัยการผลิตในทฤษฎีของเฮกเชอรโ์ อลิน ซง่ึ ตา่ งก็นาไปสู่การผลิตสินค้าและ
บรกิ ารท่แี ตกตา่ งกนั ระหว่างประเทศท่มี ีการเปดิ การค้าเสรซี ึ่งกนั และกนั
ทฤษฎีทั้งสองให้ข้อสรุปที่ตรงกันว่า แต่ละประเทศจะมีสวัสดิการสูงขึ้น จากการท่ีเน้นการผลิตและ
ส่งออกในสินค้าที่ตนผลิตได้ถูกกว่าโดยเปรียบเทียบ แล้วนาเข้าสินค้าท่ีตนผลิตได้แพงกว่าโดยเปรียบเทียบ
การเปลี่ยนแปลงของโครงสรา้ งการผลิตดงั กล่าวจะทาให้การกระจายรายได้เปลี่ยนไป ซง่ึ นับเป็นประเดน็ สาคัญ
สาหรบั ประเทศกาลงั พฒั นา ที่มักจะมคี วามสามารถในการปรบั ตัวค่อนข้างชา้ ต่อการเปล่ยี นแปลงของสัญญาณ
ราคา เพราะในระยะส้ันปัจจัยการผลติ บางชนดิ อาจไม่สามารถเคล่ือนย้ายออกจากสาขาการผลติ ท่ีไม่มีความ
ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบ ไปสู่สาขาการผลิตท่ีมีความได้เปรียบโดยเปรียบเทียบได้ ซึ่งทาให้ผลได้ทางการค้า